Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12121
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorส่องแสง ศรีหมื่น-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-04T03:17:05Z-
dc.date.available2024-06-04T03:17:05Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12121-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคู่มือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อ ออนไลน์แก่ผู้สูงอายุ โดยมีกระบวนการจัดทำ 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) กำหนดวัตถุประสงค์การทำคู่มือ 2) ศึกษาแนวทางการจัดทำคู่มือ 3) เลือกเนื้อหารู้เท่าทันสื่อออนไลน์ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ 4) ตรวจสอบ เนื้อหาที่เลือกโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5) เขียนเนื้อหาและออกแบบคู่มือ และ 6) ทดลองใช้คู่มือ การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการผลิตต้นแบบชิ้นงานประเภทหนังสือคู่มือ โดยใช้ชื่อว่า "คู่มือวัยเก๋ารู้เท่าทันสื่อออนไลน์" เนื้อหาคู่มือฯ ประกอบด้วย 1) เรื่องการรู้เท่าทันข่าวปลอม คือการรู้เท่า ทันข้อมูลที่สร้างขึ้นด้วยเจตนาบิดเบือนข้อเท็จจริง แต่มีรูปแบบการสื่อสารที่ชักจูงใจให้ผู้ใช้สื่อออนไลน์ หลงเชื่อ 2) การรู้เท่าทันข้อมูลสุขภาพในสื่อออนไลน์ คือการรู้เท่าทันข้อมูลสุขภาพที่โอ้อวดสรรพคุณเกิน จริง ขาดแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือและหวังผลทางธุรกิจ 3) การรู้เท่าทันโฆษณาออนไลน์ คือการรู้เท่าทันสื่อ โฆษณาที่ทำการตลาดทางอินเทอร์เน็ต มักดึงดูดใจผู้บริโภคด้วยการออกแบบสื่อที่หลากหลาย 4) การรู้เท่า ทันข้อมูลส่วนตัวในโลกออนไลน์ คือการรู้เท่าทันและการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามไซเบอร์ที่มิจฉาชีพ มักเลือกเหยื่อจากการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวในโลกออนไลน์ และ 5) การรู้เท่าทันการฉ้อโกงในสื่อ ออนไลน์ คือการระวังตัว ไม่ตกเป็นเหยื่อมิจฉาชีพที่ใช้สื่อออนไลน์เป็นเครื่องมือหลอกลวง โดยผู้ศึกษาได้ ทดลองใช้คู่มือฯ กับกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปและมีการใช้สื่อออนไลน์วันละไม่ต่ำกว่า 2 ชั่วโมง จำนวน 18 คน ด้วยวิธีการสนทนากลุ่มและการทำแบบทดสอบ เครื่องมือการทดสอบ ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบก่อนและหลังอ่านคู่มือฯ 2) ใบงานกิจกรรมสนทนากลุ่ม และ3) แบบ ประเมินความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการทดลองใช้คู่มือฯ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อคู่มือ "วัยเก๋ารู้เท่าทันสื่อ ออนไลน์" ในระดับดี ส่วนด้านการรู้เท่าทันสื่อออนไลน์พบว่า คู่มือฯ มีส่วนสร้างทักษะการรู้เท่าทันสื่อ ออนไลน์แก่ผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอ่าน คู่มือมาคิดวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารในสื่อออนไลน์ได้เป็นอย่างดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอินเทอร์เน็ตกับผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleคู่มือวัยเก๋ารู้เท่าทันสื่อออนไลน์th_TH
dc.title.alternativeOnline media literacy manual for senior citizenth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research had the aim of developing a handbook on social media literacy for seniors. There were six steps to the project: 1) setting the objectives; 2) studying approaches for writing the handbook; 3) selecting appropriate content; )vetting of the selected content by qualified experts; 5) writing and designing the handbook; and 6) testing content by the using the handbook with seniors. This independent study research was about developing a prototype in the form of a handbook called "Savvy Seniors': Handbook for Social Media Literacy." The handbook content consists of 1) awareness of fake news, or information that was fabricated with the intention of distorting the truth but that is designed to be persuasive and believable; 2) awareness of overclaims in health news, or being able to realize when a health product's qualities are exaggerated, when no credible sources are cited, and the group or individual sharing the health news stands to benefit financially; 3) awareness of online advertising, or how to see through veiled advertisements that use a variety of media design tricks to look attractive; 4) awareness of protecting your personal information, or how to stay safe from cyber threats and how criminals choose victims when people reveal their information online; and 5) awareness of online fraud, or how to be cautious and not fall victim to online crime of various sorts. The handbook was tested on a sample of 18 people aged 60 or over who used social media at least 2 hours a day. The results were evaluated in a group discussion and with research tools consisting of 1) a pre-test and a post-test; 2) a discussion group activity form; and 3) a satisfaction survey form. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation and t test. The results showed that the samples were satisfied with the handbook. The results of pre-test and post-test scores showed that the handbook helped seniors gain social media literacy skills to a statistically significant degree at 0.01 confidence and seniors were able to apply what they learned from the handbook to analyze online news and information betteren_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161318.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons