Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12127
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภัสวลี นิติเกษตรสุนทร | th_TH |
dc.contributor.author | สุภิสาข์ มัยขุนทด | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-04T06:40:57Z | - |
dc.date.available | 2024-06-04T06:40:57Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12127 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระเรื่องการศึกษากระบวนการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ของ สวนเพชร ริเวอร์วิว รีสอร์ท มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) องค์ประกอบด้านการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ 2) การดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน ด้านประชาสัมพันธ์ 4) ข้อเสนอแนะแนวทางการประชาสัมพันธ์ของ สวนเพชร ริเวอร์วิว รีสอร์ท การค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีผู้ให้ข้อมูลหลัก ประกอบด้วยผู้ก่อตั้งและผู้บริหารสวนเพชร ริเวอร์วิว รีสอร์ท จำนวน 5 คน และลูกค้าสวนเพชร ริเวอร์วิวรีสอร์ท จำนวน 6 คน รวมทั้งหมด 11 คน โดยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบกลุ่ม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบด้านการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ของ สวนเพชร ริเวอร์วิว รีสอร์ท มีกระบวนการทำงานที่ไม่เสริมสร้างให้การสื่อสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพกล่าวคือ ผู้ส่งสารขาดความรู้ทักษะด้านการสื่อสาร เนื้อสารขาดความน่าสนใจ ช่องทางการสื่อสาร ไม่มีประสิทธิภาพ และผู้รับสารได้รับสารไม่ตรงตามความต้องการ 2) การดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ พบว่า ขาดการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน การใช้ข้อความและเครื่องมือไม่น่าสนใจ ขาดการนำแผนการประชาสัมพันธ์ไปใช้ และขาดการประเมินผลการประชาสัมพันธ์ที่วัดผลได้ 3) ปัญหาและอุปสรรค พบว่า ด้านผู้ส่งสารขาดความรู้และทักษะการประชาสัมพันธ์ ด้านช่องทางสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถเข้ากลุ่มเป้าหมายหลักได้ ด้านการกำหนดวัตถุประสงค์ไม่มีความชัดเจน ทำให้ระบบการทำงานไม่มีประสิทธิภาพ และขาดการประเมินทำให้ไม่สามารถรู้จุดบกพร่องในการประชาสัมพันธ์ 4) ข้อเสนอแนะแนวทางด้านการประชาสัมพันธ์ คือ การพัฒนาบุคลากร การปรับเนื้อหาด้านการประชาสัมพันธ์ การเลือกใช้สื่อให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ให้ครบขั้นตอน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สวนเพชร ริเวอร์วิว รีสอร์ท | th_TH |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.subject | การสื่อสาร--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การศึกษากระบวนการสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ของสวนเพชร ริเวอร์วิว รีสอร์ท | th_TH |
dc.title.alternative | Study of the public relations communication process of Suanpetch River View Resort | en_US |
dc.type | th | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent research on the public relations communication process of Suanpetch River View Resort were to study: 1) components of public relations communication; 2) public relations work perations; 3) problems encountered; and 4) suggestions for improving the resort's public relations. This was a qualitative research. The key informants consisted of 5 founders and executives of Suanpetch River View Resort and 6 customers of Suanpetch River View Resort, for a total of 11 persons, selected through purposive sampling. The data collection tools were a group interview form and an in-depth interview form. Data were analyzed using descriptive analysis. The results showed that 1) components of the resort's public relations communication were a work process that did not promote efficient communications, a message sender who lacked communication skills, messages with content that was not interesting, communication channels that were not efficient, and receivers who did not receive the information they desired. 2) The resort's public relations work operations did not include the setting of clear objectives, utilized wording and tools that were not interesting, did not include public relations planning, and did not have an evaluation method with measurable results. 3) Problems and difficulties were that the message senders lacked public relations knowledge and skills, the communication channels were not efficient and did not reach the target audience, no clear objectives were set so the work system was not effective, and there was no evaluation so no one was aware of the shortcomings of the public relations work. 4) Suggestions for improving the resort's public relations are to develop the personnel, to adjust the public relations messages, to choose media that meet the needs of the target audience, and to utilize all the steps of the public relations process. | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
154875.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License