Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12129
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา ภักดีบุรี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-04T07:11:47Z-
dc.date.available2024-06-04T07:11:47Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12129-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการเปิดรับสื่อการท่องเที่ยว 2) ความต้องการข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยว 3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเปิดรับสื่อการท่องเที่ยว จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพการสมรส และการศึกษา และ 4) เปรียบเทียบความต้องการข้อมูล ข่าวสารการท่องเที่ยว จำแนกตามเพศ อายุ สถานภาพการสมรส และการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เลือกตัวอย่างแบบตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวชาวยุโรปที่เข้ามาท่องเที่ยวในเขตอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 200 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างเปิดรับข่าวสารการท่องเที่ยวจากสื่อบุคคลใน ครอบครัว/เพื่อนมากที่สุด รองลงมาคือสื่อใหม่ เว็บไซต์ โทรทัศน์ (ละครชุดที่ถ่ายทำต่างประเทศ) และสื่อเฉพาะกิจ 2) กลุ่มตัวอย่างต้องการข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยวเกี่ยวกับเส้นทางเดิน/ผังเมืองมี มากที่สุด รองลงมาคือ แหล่งท่องเที่ยว/สถานที่ท่องเที่ยว และสภาพอากาศ 3) นักท่องเที่ยวชาว ยุโรปที่มีสถานภาพการสมรสและการศึกษาแตกต่างกันมีพฤติกรรมการเปิดรับสื่อการท่องเที่ยว แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 4) นักท่องเที่ยวชาวยุโรปที่มีอายุแตกต่างกัน มีความต้องการข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยวแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสารth_TH
dc.subjectนักท่องเที่ยวต่างชาติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการเปิดรับสื่อและความต้องการข้อมูลข่าวสารของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปth_TH
dc.title.alternativeMedia exposure behavior and demand for information of European touriststh_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the tourism media exposure behavior of European tourists in Koh Samui; 2) to study their demand for news and information about tourism; 3) to compare their media exposure behavior when grouped by sex, age, marital status and educational level; and 4) to compare their demand for news and information when grouped by sex, age, marital status and educational level. This was a survey research. The sample population was 200 European tourists in Koh Samui District, Surat Thani Province, chosen through convenience sampling. The research tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t test and analysis of variance. The results showed that 1) most of the samples were exposed to tourism news from personal media (friends and relatives) the most, followed by new media, websites, television (programs filmed in Thailand) and ad hoc media. 2) Most of the samples had the greatest demand for tourism information about routes and city maps, followed by tourism destinations and weather information. 3) Tourists with differences in the factors of marital status and educational level had different tourism media exposure to a statistically significant degree at 0.05 confidence level. 4) Tourists with differences in age group had different demands for tourism news to a statistically significant degree at 0.05 confidence levelen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161596.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons