Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorสุดท้าย เข็มกาหยีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-04T08:09:49Z-
dc.date.available2024-06-04T08:09:49Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12136en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความพึงพอใจของบุคลากร กองทัพเรือที่ฟังรายการนาวีสัมพันธ์ สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือ วังนันทอุทยาน และ 2) ความต้องการของบุคลากรกองทัพเรือที่ฟังรายการนาวีสัมพันธ์ สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือวังนันทอุทยานการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรกองทัพเรือ ได้แก่ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ สังกัดหน่วยงานที่ตั้งอยู่ ในเขตวังนันทอุทยาน จำนวน 302 คน สุ่มตัวอย่างแบบจัดชั้น โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ยผลการศึกษา พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ชั้นยศ พันจ่าตรี - พันจ่าเอก มีรายได้ ต่อเดือนเฉลี่ย 10,001 -20,000 บาท มีตำแหน่งปฏิบัติการทั่วไป 2) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจรายการในรูปแบบข่าวและเนื้อหาประเภทข่าวสารมากที่สุดโดยมีความพึงพอใจในระดับมากและมีความพึงพอใจรายการที่มีความยาว 30 นาที และการออกอากาศในช่วงเวลา 07.30- 08.00 น. ในระดับมาก กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจที่ผู้ดำเนินรายการใช้ภาษาถูกต้องตามอักขรวิธีมากที่สุด โดยมีความพึงพอใจในระดับมากรองลงมาคือ การเปิดโอกาสให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมในรายการและประโยชน์ที่ได้จากการฟังรายการโดยมีความพึงพอใจในระดับมาก 3) กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการฟังรูปแบบรายการพูดคุยและมีความต้องการด้านเนื้อหาสุขภาพมากที่สุด รวมทั้งต้องการมีส่วนร่วมในการจัดรายการและต้องการให้มีการพัฒนาด้านการจัดรายการนาวีสัมพันธ์ ให้ใกล้เคียงกับสถานีอื่นๆ แต่คงเอกลักษณ์ของทหารเรือรวมทั้งควรจัดรายการให้มีความทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสถานีวิทยุเสียง จากทหารเรือวังนันทอุทยานth_TH
dc.subjectวิทยุกระจายเสียงth_TH
dc.subjectวิทยุกระจายเสียง--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleความพึงพอใจและความต้องการของบุคลากรกองทัพเรือที่ฟังรายการ "นาวีสัมพันธ์" สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือวังนันทอุทยานth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction and needs of Navy personnel listening to "Navee Samphan" program, Wang Nanta-utayan Navy radio stationen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the level of satisfaction of Royal Thai Navy personnel who listened to Wang Nanta-utayan Naval Base Radio Station's "Navee Samphan" program; and 2) their demand for the rogram, including preferred program format and content. This was a survey research. The sample population consisted of 302 people employed by the Royal Thai Navy at Wang Nanta-utayan Naval Base, including civil ervants, regular employees and government sector employees. The samples were selected using multi-level sampling. Data were collected using a questionnaire and statistically analyzed using percentage and mean. The results showed that 1) The majority of samples were male, in the 41-50 age range, educated to bachelor's degree level, of rank third class to first class petty officer, with income in the range 10,001-20,000 baht a month, and charged with general duties. 2) The majority of samples gave the highest satisfaction scores for the categories of the "Navee Samphan" radio program's news format and news content satisfaction scores were "high" for both categories). Likewise, most samples were highly satisfied with the program duration of 30 minutes and the broadcast time of 07:30-08:00. They also reported a high level of satisfaction with the program host's ability to speak with correct ronunciation and grammar. For the final 2 categories of "opportunities for listener participation" and "benefit of listening to the program," the mean satisfaction scores were lower than for other categories, but the satisfaction level was still rated as "high." 3) As for listener demand, the majority of samples surveyed wanted a talk show format and desired content about health related topics. They desired listener participation in the program management and they wanted the program to be updated to be more modern while still maintaining the unique character of navy radio.en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
148769.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons