Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12139
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | สุพิชฌาย์ คำไพเราะ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-04T08:19:59Z | - |
dc.date.available | 2024-06-04T08:19:59Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12139 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการประชาสัมพันธ์ของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ 2) กระบวนการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาการประชาสัมพันธ์ของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก โดยการเลือกแบบเจาะจงจาก ผู้รับผิดชอบด้านการประชาสัมพันธ์ในระดับนโยบาย จำนวน 8 คน และเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ จำนวน 5 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการ พรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1) สำนักข่าวกรองแห่งชาติไม่มีนโยบาย แผนงานการประชาสัมพันธ์เป็นลายลักษณ์อักษร การประชาสัมพันธ์ภายในองค์กรดำเนินการด้วยความต้องการของฝ่ายบริหาร โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจ ลดความขัดแย้งและสร้างความสามัคคีภายในองค์กร การประชาสัมพันธ์ภายนอกมุ่งสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในด้านความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งไม่สามารถดำเนินการประชาสัมพันธ์ได้ทุกภารกิจ การขาดแคลนทรัพยากรการประชาสัมพันธ์ที่เด่นชัดคือไม่มีบุคลากรระดับใดที่มีความรู้ด้านนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ สื่อสารมวลชน หรือการประชาสัมพันธ์ ปฏิบัติงาน งานประชาสัมพันธ์อยู่ในส่วนประชาสัมพันธ์สังกัดฝ่ายอำนวยการ มีงานอยู่ 3 ฝ่าย คือฝ่ายพิธีการ ฝ่ายประชุม ฝ่ายประชาสัมพันธ์การข่าว ซึ่งมีบุคลากร 5 คน รับผิดชอบทั้งการประชาสัมพันธ์ภายในและภายนอกองค์กร โดยงานด้านการประชาสัมพันธ์กระจัดกระจายไปอยู่ตามสำนักต่างๆ ส่งผลให้งานด้านการประชาสัมพันธ์ยังไม่เป็นเอกภาพ 2) กระบวนการประชาสัมพันธ์ของสำนักข่าวกรองแห่งชาติมีการรับฟังความคิดเห็นอย่างไม่เป็นทางการ มีการวางแผนโครงการสำหรับการประชาสัมพันธ์ภายนอกมีการสื่อสารด้วยสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อใหม่ สื่อกิจกรรม และมีการประเมินอย่างไม่เป็นทางการและเป็นทางการ 3) แนวทางการพัฒนาการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ (1) กำหนดนโยบายการประชาสัมพันธ์ให้สอดคล้อง กับภารกิจขององค์กร (2) กำหนดวัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์เพื่อมุ่งสร้างภาพลักษณ์และเผยแพร่ ผลงาน (3) พัฒนาการประชาสัมพันธ์โดยมุ่งเน้นความถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นสากล (4) กำหนดแผนกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ (5) สร้างระบบเครือข่ายการประชาสัมพันธ์ทั้งภายในและภายนอกองค์กร และ (6) พัฒนาทรัพยากรด้านการประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สำนักข่าวกรองแห่งชาติ--การประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.title | การประชาสัมพันธ์ของสำนักข่าวกรองแห่งชาติ | th_TH |
dc.title.alternative | Public relations of the National Intelligence Agency | th_TH |
dc.type | th | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study the of public relations activities pursued by the National Intelligence Agency (NIA); 2) to study the process of public relations activities pursued by the NIA; and 3) to ecommendations for developing the public relations work of the NIA. This was a qualitative research. Make thirteen key informants, chosen through purposive sampling, consisted of eight policymaking level officials of the NIA responsible for public relations work and five operations level NIA officials involved in public relations work. The research methodology was an interview form and the data were analyzed by descriptive analysis. The results showed that 1) the NIA has a written public relations plan and policy. Internal public relations are carried out according to the wishes of administrators with the objective of building understanding, reducing conflicts, and creating unity within the organization. External public relations work is focused on building civil society networks to strengthen national security, which cannot cover every mission of the NIA. The NIA lacks specific public relations resources. In particular, it does not have personnel at any level with expertise in communication arts, journalism, mass media or public relations. Public relations work falls under the administrative unit, which contains a protocol division, a meeting division and a news and public relations division. Five officials are responsible for both internal and external public relations. The work is scattered over several different offices and lacks unity. 2) The work process involves informally listening to opinions; planning projects for external public relations; communicating messages via print media, new media and activities; and both formal and informal evaluation. 3) Approaches for developing the NIA's public relations work are (1) to set a public relations policy that is compatible with the NIA's missions; (2) to set objectives for public relations work that will augment image-building and help publicize the NIA's work; (3) to emphasize accuracy, speed and internationalism; (4) to set a strategic public relations plan; (5) to build networks for internal and external public relations; and (6) to develop public relations resources | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
159201.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License