Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิราภรณ์ สุวรรณวาจกกสิกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอนงค์ ศุภภิญโญ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-04T08:58:07Z-
dc.date.available2024-06-04T08:58:07Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12142-
dc.description.abstractการผลิตสปอตวิทยุกระจายเสียงต้นแบบชุด "วิกฤติ ... ชีวิตถูกทอดทิ้งยามชรา" มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ผลิตและพัฒนา สปอตวิทยุเพื่อการรณรงค์ผู้สูงอายุ "วิกฤติ ... ชีวิตถูกทิ้งยาม ชรา" และ 2) เผยแพร่ สปอตวิทยุกระจายเสียงต้นแบบเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ผู้สูงอายุในการเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุให้กับประชาชนในจังหวัดพะเยา ผู้ศึกษาได้ผลิตสปอตวิทยุกระจายเสียงต้นแบบ จำนวน 7 ชิ้นงาน ประกอบด้วย (1) หนี ไม่พ้นความแก่ (2) เพราะรัก (3) สังเกต (4) อาการ (5) อัลไซเมอร์ (6) วิกฤติ ... ชีวิตเมื่อยามชรา และ (7) ป้องกัน ด้วยรักและเข้าใจ กระบวนการผลิตสปอตวิทยุกระจายเสียงต้นแบบมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การวางแผน การดำเนินการผลิต 2) การวางแผนการเขียนบท 3) การเขียนบทสปอตวิทยุ 4) การพิจารณา วิพากษ์ พัฒนาบทวิทยุ 5) การบันทึกบทสปอตต้นแบบ การลงเสียง และการตัดต่อ ส่วนการพัฒนาสื่อ ต้นแบบ ประกอบด้วย การสร้างเครื่องมือในการพิจารณาสื่อต้นแบบ การกำหนดผู้พิจารณาสื่อ ต้นแบบ การประชุมผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อรับฟังสื่อต้นแบบรวมกัน และการสนทนากลุ่ม โดย ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพด้านนิเทศศาสตร์ จำนวน 10 คน ผลการพิจารณาพบว่า (1) ด้านความยาวของสปอตวิทยุ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ด้านเนื้อหาของสปอตวิทยุโดย ภาพรวม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (3) ด้านรูปแบบการนำเสนอของสปอตวิทยุ โดยภาพรวม มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง (4) ด้านคุณภาพเสียงของผู้นำเสนอสปอตวิทยุโดยภาพรวมมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และ (5) ด้านคุณภาพของสปอตวิทยุโดยภาพรวม โดยภาพรวมมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก และหลังจากสื่อต้นแบบผ่านการประเมินแล้ว ได้มีการเผยแพร่ส ปอตวิทยุกระจายเสียงต้นแบบทางสถานีวิทยุกระจายเสียงสถานีวิทยุชุมชนสบายใจเรดิโอ เอฟ.เอ็ม. 89.00 เมกะเฮิร์ตซ และสถานีวิทยุชุมชน ในอำเภอต่างๆ จำนวน 8 อำเภอในจังหวัดพะเยาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยth_TH
dc.subjectวิทยุกระจายเสียงth_TH
dc.subjectรายการวิทยุ--การผลิตและการกำกับรายการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleการผลิตสปอตวิทยุกระจายเสียงต้นแบบชุด "วิกฤต...ชีวิตถูกทอดทิ้งยามชรา"th_TH
dc.title.alternativeProduction of the radiro spot model "Crisis...Life of Abandoned Elderly"th_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to produce and develop a radio spot model campaign "Crisis ... life of abandoned elderly" and 2) to distribute a radio spot model to enlarge knowledge and understanding towards aging preparation of the elderly for people in Phayao Province. The author produced 7 radio spot model: (1) "Aging cannot be escaped"; (2) "Because of love"; (3) "Observation"; (4) "Symptoms"; (5) "Alzheimer's"; (6) "Crisis ... life of abandoned elderly"; and (7) "Prevention with love and understanding." The radio spot production process consisted of 5 steps, namely 1) production planning 2) script planning 3) script writing 4) script development process and 5) radio spot model production, recording, editing. The development process consisted of developing instrument for radio spot model consideration, assigning qualified persons for radio spot model consideration, organizing a meeting for radio spot model consideration and, holding a group discussion which consisted of 10 academics and professionals in the field of communication arts. Overall, the consideration results were as follows: (1) most of them were highly satisfied with the length of the radio spots; (2) most of them were highly satisfied with the content of the radio spots; (3) their satisfaction towards the presentation format of the radio spots was medium; (4) most of them were highly satisfied with the voice quality of the presenter; and (5) most of them were highly satisfied with the quality of radio spots. After the consideration, the radio spot model was broadcast via Sabai Jai Radio FM 89.00 Megahertz and community radio stations in 8 districts within Phayao Province.en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
141050.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons