Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12145
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์th_TH
dc.contributor.authorอุทัย พึงใจth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-05T02:45:01Z-
dc.date.available2024-06-05T02:45:01Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12145en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นต่อการสื่อสารระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรมโรงพยาบาลราชวิถี และ (2) ปัญหาและอุปสรรคของการสื่อสารระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรมโรงพยาบาลราชวิถี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยแผนกอายุรกรรมโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา จำนวน 100 คน และพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลราชวิถี โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีพรรณนาเชิงวิเคราะห์ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยมีความคิดเห็นต่อองค์ประกอบด้านผู้ส่งสาร (พยาบาล) โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่การตั้งใจรับฟังสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการสื่อสาร การสื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย การแสดงความเป็นกันเอง การเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยแสดงความคิดเห็น การเลือกวิธีสื่อสารให้ เหมาะสม การแสดงท่าทีเปิดเผยกับผู้ป่วย การมีความรู้สึกที่ดีกับผู้ป่วย การให้ความสำคัญเรื่องความแตกต่างของผู้ป่วยตามลำดับ และความคิดเห็นด้านสาร (ภาษา) โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย ใช้คำพูดที่เข้าใจง่าย ใช้คำพูดสุภาพนุ่มนวลตามลำดับ ความคิดเห็นด้านช่องทางการสื่อสาร(สื่อ ) โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ การพูดคุยแบบไม่เป็นทางการและใช้สื่อประกอบ ด้านผลสะท้อนกลับโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ การเปิดโอกาสให้ซักถาม(2) ปัญหาและอุปสรรคการสื่อสารระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรม ได้แก่ ผู้ส่งสาร(พยาบาล)ขาดทักษะการสื่อสาร ไม่เข้าใจข้อมูล ไม่ตั้งใจรับฟัง ไม่แสดงความเป็นกันเอง ไม่ไว้วางใจ และไม่เชื่อถือพยาบาลตามลำดับ ด้านสาร(ภาษา) ใช้ศัพท์เทคนิค ด้านช่องทางการสื่อสาร(สื่อ)มีการเลือกใช้สื่อไม่เหมาะสม ขาดการสื่อสารแบบสองทาง และไม่มีการเปิดโอกาสให้มีการสื่อสารกลับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการสื่อสารระหว่างบุคคลth_TH
dc.subjectพยาบาลกับผู้ป่วยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleความคิดเห็นต่อการสื่อสารระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรมโรงพยาบาลราชวิถีth_TH
dc.title.alternativeOpinions for communication between nurse and medical disease patient of Rajavithi Hospitalen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124140.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons