Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยานี ภาคอัตth_TH
dc.contributor.authorสุมลรัตน์ มีคำth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-06-05T03:49:57Z-
dc.date.available2024-06-05T03:49:57Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12150en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ไทย และ (2) ทดสอบความมีประสิทธิภาพระดับต่ำในตลาดหลักทรัพย์ไทย การศึกษานี้ศึกษากลุ่มตัวอย่างคือ ดัชนี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ สำหรับระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558ถึง 31ธันวาคม 2562 โดยประชากรคือ ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของทั้งสองตลาด ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลทุติยภูมิคือ ดัชนีราคาปิดรายเดือนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ สำหรับระยะเวลา 60 เดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2558ถึง เดือนธันวาคม 2562วิธีการที่ใช้ในการศึกษาคือ การทดสอบการแจกแจงแบบสุ่มและการทดสอบตัวแปรสุ่มคลาดเคลื่อนมีความสัมพันธ์กนเองลำดับที่หนึ่ง ผลการศึกษาพบว่า (1) การเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีแนวโน้มลดลงในช่วงเดือนมกราคม 2558ถึง เดือนมกราคม 2559จากนั้นปรับตัวและเคลื่อนไหว อย่างมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจนถึงเดือนมกราคม 2561และปรับตัวลดลงเล็กน้อยจนถึงเดือนธันวาคม 2562 ในขณะที่ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ เคลื่อนไหวในลักษณะมีแนวโน้มลดลง ตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ 2558 จนถึง เดือนธันวาคม 2562และ (2) ตลาดหลักทรัพย์ไทยเป็นตลาดที่ไม่มีประสิทธิภาพระดับต่ำในช่วงระยะเวลาตั้งแต่1 มกราคม 2558ถึง 31ธันวาคม 2562 ด้วยนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์--ไทยth_TH
dc.subjectดัชนีราคาหลักทรัพย์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการทดสอบความมีประสิทธิภาพระดับต่ำในตลาดหลักทรัพย์ไทยth_TH
dc.title.alternativeTesting the weak form of efficient market hypothesis in the Thai Security Marketen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the movement of market indices in the Thai Security Market, and (2) to test the Weak Form of Efficient Market Hypothesis in the Thai Security Market. This study focused on the sample, SET index and MAI index for the 5 years from 1st January 2015 to 31st December 2019. The population of the study are market indices of the Stock Exchange of Thailand (SET) and the Market for Alternative Investment (MAI) for the beginning period to the current period. The data used in the study was monthly closed index of SET and MAI for the period of 60 months, from January 2015 to December 2019. The methodologies employed in this study were Runs Test and Testing for AR(1) serial correlation. The results informed that (1) the movement of SET index shows the down trend in the period from January 2015 to December 2016. Then, it reversed to up trend until January 2018 and then gradually decreased till December 2019. In the same way, the movement of MAI index also showed the down trend in the period from February 2015 to December 2019. (2) The Thai Security Market was inefficient in the study period from 1st January 2015 to 31st December 2019 with the statistical significance at 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons