Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12181
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิรวัฒน์ เมธาสุทธิรัตน์ | th_TH |
dc.contributor.author | อรพรรณ นันทกิจโกศล | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-10T02:09:56Z | - |
dc.date.available | 2024-06-10T02:09:56Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12181 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เปรียบเทียบปัจจัยของวิกฤตการณ์เงินคงคลังในประเทศไทย (2) วิเคราะห์บทบาทของเงินคงคลังต่อการพัฒนาประเทศไทย และ (3) เสนอแนวทางแก้ไขและป้องกันการเกิดวิกฤตการณ์เงินคงคลังของประเทศไทยในอนาคต ผลการศึกษาพบว่า (1) การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยของวิกฤตการณ์เงินคงคลังในประเทศไทยทั้ง 4 วิกฤตการณ์ ได้แก่ วิกฤตการณ์เงินคงคลังในรัชกาลที่ 6 วิกฤตการณ์เงินคงคลังในปี 2523 - 2525 วิกฤตการณ์เงินคงคลังในปี 2549 และวิกฤตการณ์เงินคงคลังในปี 2563 – 2564 ล้วนปรากฏปัจจัยที่ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์เงินคงคลังในลักษณะร่วมกันทั้ง 6 ปัจจัย ได้แก่ นโยบายการคลังของรัฐบาล กฎหมายทางการคลัง เศรษฐกิจและสังคม การนำส่งเงินเข้าคลัง การเบิกจ่ายเงินจากคลังการบริหารเงินคงคลังและวิกฤตการณ์เงินคงคลัง (2) การวิเคราะห์บทบาทของเงินคงคลังต่อการพัฒนาประเทศไทยผ่านวิกฤตการณ์เงินคงคลังทั้ง 4 วิกฤตการณ์ พบว่า เงินคงคลังมีบทบาทในการพัฒนาประเทศไทยทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ทั้งในช่วงก่อนการเกิดวิกฤตการณ์เงินคงคลังและช่วงที่เกิดวิกฤตการณ์เงินคงคลัง ผ่านการใช้จ่ายเงินคงคลังในสถานะเงินในคลังและในสถานะเงินออมของประเทศ (3) แนวทางแก้ไขวิกฤตการณ์เงินคงคลังในปี 2563 - 2564 ได้แก่ รัฐบาลมีนโยบายการคลังเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากโควิด-19 ปฏิบัติตามกฎหมายการบริหารหนี้และกฎหมายทางการคลังที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด จัดทำโครงการเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมจากโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงการจัดเก็บภาษีอากร ลดปริมาณการใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นลง บริหารหนี้สาธารณะอย่างระมัดระวัง และลดการถือเงินคงคลังเป็นจำนวนมากไว้ ส่วนแนวทางป้องกันการเกิดวิกฤตการณ์เงินคงคลังของประเทศไทย รัฐบาลจะต้องป้องกันทั้งจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | เงินคงคลัง | th_TH |
dc.subject | วิกฤตการณ์การเงิน | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การศึกษาบทบาทเงินคงคลังต่อการพัฒนาประเทศผ่านวิกฤตการณ์เงินคงคลังของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Study of treasury balances’s dominant role for country development through Thailand Treasury Balances Crisis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to (1) study and compare factors of Thailand Treasury Balances Crisis, (2) analyze treasury balances’s dominant role for Thailand development, and (3) propose solutions and preventions of Thailand Treasury Balances Crisis in the future. This study was qualitative research by using documentary research, conducted by collecting data from secondary sources both printing media and electronic media or online, selecting data by purposive sampling for Thailand Treasury Balances Crisis within the 4 crises and classify it according to topic in the research conceptual framework, and leading to triangulation. Research instrument was documentary analysis, the method used for data analysis was content analysis. The findings of this study showed that (1) a comparative study on factors of Thailand Treasury Balances Crisis within the 4 crises, namely Treasury Balances Crisis in King Rama 6, Treasury Balances Crisis in 1980 - 1982, Treasury Balances Crisis in 2006 and Treasury Balances Crisis in 2020 - 2021, all appeared the same 6 factors of Treasury Balances Crisis which consists of government fiscal policy, fiscal law, economy and society, remittance to the treasury, disbursement from the treasury, treasury balances management and Treasury Balances Crisis, (2) an analysis treasury balances’s dominant role for Thailand development through Thailand Treasury Balances Crisis within the 4 crises revealed that the treasury balances was a dominant role for Thailand development in economy, society, environment and technology both before Treasury Balances Crisis and during Treasury Balances Crisis through disbursement treasury balances in a state of cash in treasury and a state of country savings, (3) there are many solutions for Thailand Treasury Balances Crisis in 2020 - 2021, namely government have to fiscal policy for recovering the economy and society from COVID-19, strictly comply with debt management laws and related fiscal laws, provide a project for recovering the economy and society from COVID-19 continuously, improving taxation, reduce unnecessary expenses, public debt management carefully and adjust treasury balances management by decrease a much of treasury balances holding, as for the preventions of Thailand Treasury Balances Crisis in the future, the government have to protect them both from internal and external factors. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License