Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12183
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจth_TH
dc.contributor.authorมินตรา จารวัฒน์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T02:31:04Z-
dc.date.available2024-06-10T02:31:04Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12183-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ในจังหวัดปราจีนบุรี (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ในจังหวัดปราจีนบุรี (3) การตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ในจังหวัดปราจีนบุรี (4) เปรียบเทียบความแตกต่างการตัดสินใจซื้อของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ในจังหวัดปราจีนบุรี และ (5) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ในจังหวัดปราจีนบุรี ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุ 21-30 ปี สถานภาพโสด วุฒิการศึกษาปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้ที่ได้รับเฉลี่ย 10,001-20,000 บาท (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ พบว่า มีระดับการให้ความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ระดับความคิดเห็นของระดับความคิดเห็นของการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ อยู่ในระดับมากที่สุด พบว่า ผู้ใช้บริการตั้งใจจะซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันช้อปปี้เพื่อใช้งานในอนาคต มากที่สุด (4) เปรียบเทียบความแตกต่างการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ พบว่า ปัจจัยด้านอายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา อาชีพ และรายได้ที่ได้รับเฉลี่ย มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (5) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมทางการตลาด มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการซื้อสินค้าth_TH
dc.subjectการซื้อสินค้าทางออนไลน์th_TH
dc.subjectโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่th_TH
dc.subjectการตลาดอินเทอร์เน็ตth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันช้อปปี้ในจังหวัดปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting purchasing decision of the Shopee application users in Prachinburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research aimed to study (1) the demographic factors of Shopee application users in Prachinburi province (2) the marketing mix factors of Shopee application, (3) to the purchasing decisions of Shopee application users in Prachinburi province, (4) the differences of purchasing decisions of Shopee application users in Prachinburi province, and (5) the marketing mix factors affecting purchasing decisions of Shopee application users in Prachinburi Province. This study was quantitative research. Population was the user of the Shopee application in Prachinburi province, with an unknown number of population and the sample size was determined using W.G. Cochran formula to be 400 people. Data were analyzed using statistics to determine frequency, percentage, mean, standard deviation. t-test, One-way ANOVA, F-test, and multiple regression analysis. The study found that (1) most respondents were female, aged 21-30 years, single status, bachelor's degree, and private company employees earned an average monthly income of 10,001-20,000-baht (2) Market mix factors of users of Shopee application users was found that overall market mix factor was the highest level. (3) The purchase decision of the user of the Shopee application was at the highest level. The highest score was user intention to purchases through the Shopee application for future as much as possible. (4) Different age, marital status, education, occupation, and average monthly income showed different purchasing decisions of the Shopee application with statistically significant at 0.05. and (5) marketing mix factors affected purchasing decisions including product, place, and promotion, at a statistically significant.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons