Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12191
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขวัญดาว วิเศษชาติ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T03:45:09Z-
dc.date.available2024-06-10T03:45:09Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12191-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อม เกี่ยวกับขยะมูลฝอยใน ปัจจุบัน และแนวทางการป้องกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับขยะมูลฝอย (2) ศึกษาแนวคิด หลักการ และโครงสร้างในการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อม โดยเน้นศึกษาเฉพาะกรณีภาษีสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย เน้น ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นผู้บริหารการจัดเก็บภาษี ซึ่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น ผู้บริหารการจัดเก็บภาษีตลอดจนการจัดสรรรายได้ ให้แก่กองทุนสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่นเพื่อใช้ใน การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม (3) วิเคราะห์เปรียบเทียบการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย ในต่างประเทศ และการนำเสนอแนวคิดในการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย โดยปรับปรุงให้เหมาะสมกับประเทศไทยต่อไป (4) หามาตรการและปรับปรุงกฎหมายการจัดเก็บภาษี สิ่งแวดล้อมโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย การศึกษาของงานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาแบบวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากเอกสาร จากการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจาก หนังสือ ตำรากฎหมาย ตำราวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความข่าว จากหนังสือพิมพ์ เอกสารที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์แล้วนำมาวิเคราะห์ถึงแนวทางในการ จัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นข้อสนับสนุนและเสนอแนะใน การให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนสำคัญในการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย ผลการศึกษาพบว่า การบัญญัติกฎหมายเพื่อจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมแล้วจะพบว่าการจัดเก็บ ภาษีสิ่งแวดล้อมจะทำให้ผู้ประกอบการและประชาชนในชุนชนต้องป้องกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น การตรวจสอบการปล่อยมลพิษ และการทิ้งขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากมีแรงจูงใจจากรายได้ในการจัดเก็บภาษี และรัฐบาลสามารถ จะนำงบประมาณที่จากเดิมใช้จ่ายไปเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมมาพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ รวมทั้ง การประกอบกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมและธุรกิจให้ บริการเหล่านั้นยังจะเป็นการประกอบ กิจการที่ยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectค่าธรรมเนียมสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.titleมาตรการในการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อม : ศึกษากรณีการจัดเก็บภาษีขยะมูลฝอยโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeThe measures of environmental taxes collection : study in case of garbage tax collection by Local Governmentth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent aim to (1) study the environment problems concerning the current garbage and also process for prevention and solving them; (2) study the concepts, principles and structures of environmental taxes collection, by focusing only garbage tax collected by the local government, is authorized to be the executive in order to collect tax and allocate the revenue to the local environmental fun for the purpose of environmental attendance; (3) analyze and compare the garbage tax collection in countries and then take the obtained results to improve and present them to be the concept of environmental tax collection by Thailand' s local government; (4) find measures and rectify the law of environmental tax collection by Thailand's local government. This independent study was a qualitative research method conducted by documentary research, gathering of textbooks, law textbooks, academic research, thesis, news articles from newspaper and related documents including information from electronic media. The results of this study have been analyzed to obtain guidance on garbage tax collection by local government for supporting and suggesting to the local government. The findings found that legislation for environmental tax collection will enable more entrepreneurs and people in the communities to attend and preserve the environment. The monitoring of pollution emission and littering of people in the communities of local government is very effective because of income from garbage tax collection is key incentives. Moreover, the government will be able to spend the budget which is formerly the budget for solving the environmental problems, to develop own economic and country. In addition, the operation of industrial factories and related business is sustainableen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150189.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons