Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12192
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินาฏ ลีดส์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจงไพบูลย์ คงมณีพิทักษ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T03:58:28Z-
dc.date.available2024-06-10T03:58:28Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12192-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและวิวัฒนาการของวันและเวลาทำงาน ปกติ การทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวันหยุด เพื่อวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับวันและเวลาทำงาน ปกติ การทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวันหยุดตามกฎหมายไทย เพื่อศึกษากฎหมายเกี่ยวกับวันและเวลา ทำงานปกติ การทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวันหยุดตามมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศขององค์การ แรงงานระหว่างประเทศ สหภาพยุโรป กฎหมายของประเทศญี่ปุ่น ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเขต บริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อเปรียบเทียบกฎหมายเกี่ยวกับวันและเวลาทำงานปกติ การ ทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวันหยุดตามกฎหมายไทยกับมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศขององค์การ แรงงานระหว่างประเทศ สหภาพยุโรป กฎหมายของประเทศญี่ปุ่น ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเขต บริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน และเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับวัน และเวลาทำงานปกติ การทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวันหยุด ให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์แก่นายจ้าง และลูกจ้างมากยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิจัยเอกสารจากกฎหมายมาตรฐานแรงงาน ระหว่างประเทศขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ สหภาพยุโรป รวมทั้งกฎหมายแรงงานของประเทศญี่ปุ่น ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน รวมทั้ง บทความ เว็บไซต์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ โดยวิธีการวิเคราะห์เชิงกฎหมายเปรียบเทียบ ผลการศึกษาพบว่า ถ้าประเทศไทยกำหนดให้นายจ้างสามารถให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาหรือทำงาน ในวันหยุดได้เฉพาะกรณีที่มีเหตุจำเป็นเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับนายจ้าง จะสามารถคุ้มครอง ลูกจ้างแรงงานไทยได้ดีขึ้น ถ้าประเทศไทยกำหนดให้การที่นายจ้างจะให้ลูกจ้างทำงานล่วงเวลาหรือทำงานใน วันหยุดได้จะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐเสียก่อน จะสามารถคุ้มครองลูกจ้างแรงงานไทยได้ดีขึ้น และถ้าประเทศ ไทยกำหนดให้งานทุกประเภทนั้นนายจ้างต้องชดเชยระยะเวลาหยุดพักผ่อนให้แก่ลูกจ้างที่นายจ้างให้มาทำงาน ล่วงเวลาหรือทำงานในวันหยุดให้แก่นายจ้าง จะสามารถคุ้มครองลูกจ้างแรงงานไทยได้ดีขึ้น ซึ่งผู้ศึกษาเห็นว่าควร แก้ไขปรับปรุงกฎหมายแรงงานไทยให้สามารถคุ้มครองลูกจ้างแรงงานไทยได้ดีขึ้นตามผลการศึกษาดังกล่าว ข้างต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการทำงาน--ไทยth_TH
dc.subjectกฎหมายแรงงานth_TH
dc.subjectชั่วโมงแรงงาน --กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.titleวันและเวลาทำงานปกติ การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุดth_TH
dc.title.alternativeWorking hours working days overtime work and work on rest dayth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this Independent study were to study ideas and the evolution of working hours working days overtime work and work on rest day, to analysis Thai legal issues about working hours working days overtime work and work on rest day, to study the Labour Standards of International Labour Organization, the Labour Standards of European Union, the Laws of Japan, the Laws of Bosnia and Herzegovina and the Laws of Hong Kong (Special Administrative Region of the People's Republic of China) about working hours working days overtime work and work on rest day, to compare Laws of Thailand with the Labour Standards of International Labour Organization, the Labour Standards of European Union, the Laws of Japan, the Laws of Bosnia and Herzegovina and the Laws of Hong Kong (Special Administrative Region of the People's Republic of China) about working hours working days overtime work and work on rest day, and to find the way to reform the Laws of Thailand about working hours working days overtime work and work on rest day to be more appropriate and more useful for employers and employees. This Independent study is a qualitative study conducted based on the documentary research. In this regard, it is to consider and compare the Labour Standards of International Labour Organization, the Labour Standards of European Union, the Laws of Japan, the Laws of Bosnia and Herzegovina and the Laws of Hong Kong (Special Administrative Region of the People's Republic of China), articles, theses and other sources from the internet in both the Thai and English languages. The results have been revealed as follows: if Thailand allows employees to work overtime or work on rest day for their employer only to prevent the damage from accident issues that have occur to the employer business, it will grant a better protective for Thai employees. If Thailand sets that employers must ask the government for permission before employees can work overtime or work on rest day for their employers, it will grant a better protective for Thai employees, and if Thailand sets that employer must compensate employees for working overtime or working on rest day for their employers by providing a rest period equivalent to the time that they have work overtime or work on rest day for their employers, it will grant a better protective for Thai employees. From all the results of this independent study, there should be Thai law reform working hours working days overtime work and work on rest day to grant a better protective for Thai employeesen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158481.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons