Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12195
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินาฏ ลีดส์ | th_TH |
dc.contributor.author | ชญา เรืองปราชญ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-10T06:48:50Z | - |
dc.date.available | 2024-06-10T06:48:50Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12195 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระเรื่อง การคุ้มครองลูกจ้างหญิงมีครรภ์ และสวัสดิการภายหลังคลอดบุตร มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความหมาย ความเป็นมา แนวคิด และหลักการเกี่ยวกับการคุ้มครอง และสวัสดิการของลูกจ้างหญิงมีครรภ์ (2) เพื่อวิเคราะห์กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครอง และสวัสดิการของลูกจ้างหญิงมีครรภ์ในประเทศไทย (3) เพื่อวิเคราะห์มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ และกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครอง และสวัสดิการของลูกจ้างหญิงมีครรภ์ของต่างประเทศเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศไทย (4) เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาการคุ้มครองลูกจ้างหญิงมีครรภ์ และ สวัสดิการภายหลังคลอดบุตรของลูกจ้างหญิงในประเทศไทยให้เหมาะสมเป็นธรรมตามกฎหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของลูกจ้างหญิงมีครรภ์ และบุตรให้ดียิ่งขึ้นการค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยทางเอกสารด้วยการเก็บรวมรวมข้อมูลจากหนังสือ ตำรากฎหมาย ตัวบทกฎหมาย คำพิพากษาศาลฎีกา วิทยานิพนธ์ เอกสารประกอบการสอน สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศผลการศึกษาพบว่า การคุ้มครองลูกจ้างหญิงมีครรภ์ และสวัสดิการภายหลังคลอดบุตรตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานของไทย ยังขาดความเหมาะสม และไม่มีความเป็นธรรมเท่าที่ควร อันเนื่องมาจากความบกพร่องของบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 บางประการ เช่น ไม่มีนิยามความหมายของคำว่า "ลาคลอด"ไว้ สิทธิลาคลอดยังต่ำกว่ามาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ บทบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองการทำงานที่อาจเป็นอันตรายก็มิได้ให้ความคุ้มครองไปถึงช่วงระยะเวลาภายหลังจากการคลอดบุตร นอกจากนี้ยังมิได้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับสวัสดิการภายหลังคลอดของลูกจ้างหญิงไว้เลย ซึ่งผู้เขียนได้เสนอแนะแนวทางแก้ไขไว้ ดังนี้ (1) ควรบัญญัติบทนิยามความหมายของคำว่า "ลาคลอด" ให้ชัดเจน (2) ควรแก้ไขบทบัญญัติในเรื่องสิทธิลาคลอดให้มีมาตรฐานไม่ต่ำกว่ามาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ (3) ควรกำหนดให้ลูกจ้างหญิงมีสิทธิลาอันเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ หรือการคลอดบุตร (4) ควรกำหนดให้มีการคุ้มครองการทำงานที่อาจเป็นอันตราย ในช่วงระยะเวลาภายหลังคลอดบุตร (5) ควรเพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับสวัสดิการภายหลังคลอดบุตรไว้ในพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ทั้งนี้ เพื่อให้การคุ้มครองลูกจ้างหญิงมีครรภ์ และ สวัสดิการภายหลังคลอดบุตร ของประเทศไทยมีความเหมาะสมและมีความเป็นธรรมยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | สตรีมีครรภ์ | th_TH |
dc.subject | สวัสดิการลูกจ้าง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การคุ้มครองลูกจ้างหญิงมีครรภ์และสวัสดิการภายหลังคลอดบุตร | th_TH |
dc.title.alternative | Protection of pregnant employees and puerperal welfare | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | An independent study regarding protection of pregnant employees and puerperal welfare has the purposes (1) to study meaning, history, concept andprinciple concerning the protection of pregnant employees and welfare after delivery;(2) to analyze laws concerning the protection of pregnant employees and welfare afterdelivery in Thailand; (3) to analyze international labour standard of InternationalLabour Organization and laws concerning the protection of pregnant employees andwelfare after delivery compared with Thai laws and (4) to find a guideline in problemsolving of the protection of pregnant employees and welfare after delivery of womanemployees in Thailand to be suitable with laws in order to develop better quality of life in pregnant employees and children.This independent study is a qualitative research by conducting documentaryresearch by collecting data from legal textbooks, matters of law, judgments of theSupreme Court, Theses, documents supporting in teaching, information technology (internet) in both Thai and foreign language. From the study, it is found that the protection of pregnant employees andwelfare after delivery in accordance with Thai labour protection law is still lackingsuitability and unjust due to a certain error in the Labour Protection Act, B.E. 2541 (1998), such as there is no definition in terms of "maternity leave" and the rights inmaternity leave are still below the international labour standard, the legislationregarding protection of working which may be hazardous does not protect to theperiod after delivery; moreover, there is no legislation regarding welfare after deliveryof woman employee. Therefore, the author suggests guidelines for problem solving asfollows : (1) There should be legislation in definition of "maternity leave" clearly; (2) there should be an amendment in the legislation regarding the rights of maternity leave to have standard not below the international labour standard; (3) there should be stipulation for woman employee to gain the rights in taking leave due to pregnancy or delivery; (4) there should be stipulation in protection of works that may be hazardousin the period after delivery and (5) there should be stipulation regarding welfare afterdelivery in the Labour Protection Act, B.E. 2541 (1998) in order that the protection of pregnant employees and welfare after delivery of Thailand to be more suitable and having more justice. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144691.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License