Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12203
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภัฏฐิญา สิริบวรพิพัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | ชูชาติ คุณศิริอรุณ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-10T08:07:14Z | - |
dc.date.available | 2024-06-10T08:07:14Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12203 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์มี วัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อศึกษาความเป็นมา แนวคิด ที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ แฟรนไชส์ (2) เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ของไทยและต่างประเทศ (3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาในธุรกิจแฟรนไชส์และกฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ และ(4) เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาพร้อมข้อเสนอแนะการค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) ศึกษาจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย วารสาร บทความ ตัวบทกฎหมาย กฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวกับธุรกิจแฟรนไชส์ ข้อมูลบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ ตลอดทั้งคำพิพากษาของศาล เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงและปัญหาที่เกิดขึ้นจนนำไปสู่แนวทางการแก้ไขปัญหาต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยไม่มีกฎหมายเฉพาะที่ใช้ควบคุม ธุรกิจแฟรนไชส์ สัญญาแฟรนไชส์ในประเทศไทยจึงจะต้องนำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม พ.ศ. 2540 ประกอบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญามาปรับใช้ รวมถึงการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ไม่มีหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการใดของรัฐเข้ามาคอยควบคุมการประกอบกิจการอย่างเป็นระบบ ทำให้การดำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างอิสระเสรีแฟรนไชส์ซอร์จึงเป็นผู้ที่ได้เปรียบในสัญญาแฟรนไชส์ เสมอ ผู้เขียนจึงเสนอแนวทางแก้ไขไว้ดังนี้(1) รัฐควรกำหนดให้ประเทศไทยมีกฎหมายที่ใช้ควบคุมธุรกิจแฟรนไชส์โดยเฉพาะ (2) เมื่อประเทศไทยมีกฎหมายที่ใช้ควบคุมธุรกิจแฟรนไชส์โดยเฉพาะแล้ว รัฐควรกำหนดให้มีบทบัญญัติดังต่อไปนี้ เช่น กำหนดความหมายของแฟรนไชซิ่ง แฟรนไชส์ซอร์และ แฟรนไชส์ซี ห้ามมิให้ผู้ใดประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ เว้นแต่จะได้จดทะเบียนตามกฎหมาย ห้ามมิให้แฟรนไชส์ซอร์หรือตัวแทนทำการชักชวนหรือโฆษณาด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือเกินความจริงและการรักษาความลับของข้อมูลทางการค้า เป็นต้น (3) รัฐควรนำกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจแฟรนไชส์ ตลอดทั้งนำแนวคิดของประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญี่ปุ่นมาใช้เป็นแนวทางในการบัญญัติกฎหมายของประเทศไทยเพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | แฟรนไชส์--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ | th_TH |
dc.title.alternative | Legal issues related to the business franchise | en_US |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this Independent Study on the legal issues in business franchise are to (1) study concepts relating to business franchise, (2) study the domestic and international laws of business franchise, (3) analyze the problems of business franchise and related laws, and (4) offer suggestions on respective problems. This Independent Study is a qualitative research from rules and regulations, scholarly books, journal articles, research reports, academic theses, websites, and court rulings in order to comprehensively understand the facts and problems of the situation and find solutions. This Study finds that there are no specific laws in Thailand that govern business franchise. Franchise agreements in Thailand are therefore based on the provisions in the Civil and Commercial Code on Unfair Contract Terms coupled with Intellectual Property Laws. Also, business franchising in Thailand is not efficiently overseen and controlled by a governmental agency and therefore the advantage is with the business franchises with complete independence. The Study suggests that (1) there should be a law which governs business franchise specifically, (2) once the law is in place, the state should include in the provisions the definition of franchising and franchiser-franchisee, the prohibition of business franchising unless registered, the prohibition of false or exaggerated advertisement claims, and the protection of business confidentiality, for example, (3) the state should adopt laws as well as the principles and concepts from the U.S. and Japan on business franchising to serve as the foundations for the efficiency and effectiveness of legislating such laws in Thailand. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
145379.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License