กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12204
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบth_TH
dc.contributor.authorศาฐิณี สมฤทธิ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T08:14:30Z-
dc.date.available2024-06-10T08:14:30Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12204en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา1) ระดับบรรยากาศองค์การของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 2) ระดับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และ3) ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน การศึกษาครั้งนี้เป็ นการวิจัยเชิงพรรณนา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการสังกัดส่วนกลางกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจํานวน 491คน กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรการคํานวณของทาโร่ ยามาเน่ได้จํานวน 220 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับบรรยากาศองค์การของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน โดยรวมอยู่ในระดับสูง รายด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านอํานาจการตัดสินใจ รายด้านที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ด้านรางวัลและผลตอบแทน 2) ระดับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน โดยรวมอยู่ในระดับสูง รายด้านที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการบูรณาการทางสังคม รายด้านที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม และ 3) บรรยากาศองค์การกับคุณภาพชีวิตการทํางานของข้าราชการกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รายด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการสร้างจูงใจ ยกย่องชมเชย รายด้านที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ด้านโครงสร้างองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleบรรยากาศองค์การที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงานth_TH
dc.title.alternativeOrganizational climate relating Quality of Working life of Officials of Department of Labour Protection and Welfare, Ministry of Labouren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was 1) to explore the level of organizational climate of the Department of Labour Protection and Welfare; 2) to study the level of quality of working life of Officials of Department of Labour Protection and Welfare; and 3) to study the association between organizational Climate and quality of working life of officials. The population of this descriptive research was 491 officials who work at the Department of Labour Protection and Welfare. The sample was determined by using Taro Yamane’s formula with a total of 220 officials were selected by an accidental sampling method by using questionnaires to collect data. Data analysis included frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Correlation Coefficient. The results of the study revealed that 1) the level of organizational climate of officials of the Department of Labour Protection and Welfare was overall at a high level. On average, the highest aspect was authority in decision-making while the lowest aspect was rewards and compensation; 2) the level of quality of working life level of officials of the Department of Labour Protection and Welfare was overall at a high level. On average, the highest aspect was social integration while the lowest aspect was adequate and fair compensation; and 3) the relation of organizational climate and quality of working life of officials of the Department of Labor Protection and Welfare had a high positive with a statistical significance at 0.01 level. On average, the highest aspect was motivation and commendation while the lowest aspect was an organizational structure.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.44 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons