Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12207
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐชากร แก้วเกตุ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-10T08:51:18Z-
dc.date.available2024-06-10T08:51:18Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12207-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นมา ทฤษฎีและหลักการ ของการรักษาความปลอดภัย เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย ทั้งของ ประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคการรักษาความปลอดภัย และ เสนอ แนวทางแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับพระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ. 2558 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร โดยรวบรวม ข้อมูลภายในประเทศและข้อมูลต่างประเทศ ค้นคว้าข้อมูลจาก เอกสารต่างๆ หนังสือ วารสาร บทความ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และตัวบทกฎหมาย รวมทั้งวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมา วิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงถูกต้องและเหมาะสมต่อไป ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติธุรกิจรักษาความปลอดภัย พ.ศ.2558 ไม่ได้บังคับ ใช้กับบริษัทหรือสถานประกอบการประเภทอื่นที่มิใช่บริษัทรักษาความปลอดภัยที่รับสมัคร พนักงานรักษาความปลอดภัยเอง องค์การทหารผ่านศึก พนักงานรักษาความปลอดภัยอิสระ แต่บังคับใช้กับบริษัทรักษาความปลอดภัยเอกชนและพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชนเท่านั้น ทำให้มีมาตรฐานที่แตกต่างกัน สมควรกำหนดให้ทุกองค์กรอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายเดียวกัน และการกำหนดคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม เป็นการเลือกปฏิบัติ ไม่ให้บุคคลนั้นใช้สิทธิและ เสรีภาพ เป็นการตัดโอกาสในการประกอบอาชีพพนักงานรักษาความปลอดภัย การฝึกอบรม พนักงานรักษาความปลอดภัยเป็นการเพิ่มภาระและค่าใช้จ่าย พนักงานรักษาความปลอดภัยต้องเข้า รับการฝึกอบรมนานหลายวัน ทำให้เสียโอกาสในการทำงาน สมควรแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ เหมาะสม และควรกำหนดให้มีตัวแทนจากภาคเอกชนที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจรักษาความปลอดภัย เพราะทำให้มองเห็นปัญหาได้อย่างครบถ้วน เพื่อให้เกิดการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ สุดท้ายการ กำหนดให้พนักงานรักษาความปลอดภัยต้องช่วยเหลือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ แต่มิได้ กำหนดขอบเขตความช่วยเหลือ หากพนักงานรักษาความปลอดภัยได้รับผลกระทบจากการ ช่วยเหลือดังกล่าว อาจจะต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญา หรือทางปกครองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบังคับใช้กฎหมายth_TH
dc.subjectธุรกิจ-- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.titleการใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยธุรกิจรักษาความปลอดภัยth_TH
dc.title.alternativeThe enforcement of Security guard Business Actth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study purposes to study in backgrounds, theories and principles of security, laws relevant to security applied in both Thailand and foreign countries, to analyze problems and obstacles and propose guideline for solutions regarding Security Business Act B.E. 2558 This independent study is qualitative research proposed by documentary research method consisting of domestic and international data collection, piercing information from various documents, books, journals, articles, electronic databases and legislations as well as related theses which were analyzed to find out the guidelines for accurate and proper improvement. The results indicated that some business organizations running security business are not under the enforcement of Security Business Act B.E. 2558 which caused differences and inequities. Entire organizations shall be stipulation to perform under that same law enforcement and stipulation of qualifications, prohibited characteristics, security guard training, were not suitable to reality conditions, and they caused burdens to security guards and security companies shall deem to adjust for suitability and representatives from private sector which are not related to security business shall be designated because entire problems will be seen completely. Lastly, punishment measures for security guard who omits to assist police officer are not obviously stipulated in the extent of laws in regard to levels of action deemed offended which causes apprehension of security guards while they are performing duties and depletion of security guarden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
160379.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons