Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12208
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิชth_TH
dc.contributor.authorดลหทัย ชนะนนท์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-11T02:21:40Z-
dc.date.available2024-06-11T02:21:40Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12208en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาหลักการและแนวคิดทฤษฎีการอนุญาโตตุลาการ การใช้สัญญาระงับข้อพิพาทระหว่างบริษัทประกันภัย อนุญาโตตุลาการ สมาคมประกันวินาศภัย ในลักษณะของสิทธิของคู่ความในการเลือกอนุญาโตตุลาการและการใช้สิทธิในการดำเนินข้อพิพาท (2) เพื่อศึกษากฎหมาย ต่างประเทศและกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกับการระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการประกันภัยรถยนต์ โดยการ อนุญาโตตุลาการ (3) เพื่อวิเคราะห์ประเด็นที่เป็นอุปสรรคในสัญญาระงับข้อพิพาท และวิธีดำเนินข้อพิพาทระหว่างบริษัทประกันภัยโดยอนุญาโตตุลาการ สมาคมประกันวินาศภัย (4) เพื่อเสนอแนะเป็นแนวทางในการพิจารณาเกี่ยวกับการแก้ไขปรับปรุงสัญญาระงับข้อพิพาท ระหว่างบริษัทประกันภัย อนุญาโตตุลาการ สมาคมประกันวินาศภัยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิธีวิจัยเชิงพรรณนาโดยวิจัยเอกสารเป็นหลัก โดยทำการวิเคราะห์อุปสรรคใน กระบวนการอนุญาโตตุลาการ สมาคมประกันวินาศภัย รวมทั้งกฎหมายที่อนุญาโตตุลาการทั้งในต่างประเทศและในประเทศไทยเพื่อนำมาวิเคราะห์ประเด็นที่เป็นอุปสรรคในสัญญาระงับข้อพิพาทผลการวิจัยพบว่า (1) สัญญาระงับข้อพิพาทระหว่างบริษัทประกันภัย อนุญาโตตุลาการ สมาคมประกันวินาศภัยบางส่วนนั้นยังไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของการอนุญาโตตุลาการ เนื่องจากการทำสัญญานั้นจะต้องเป็นไปตามหลักเสรีภาพเพื่อเป็นการให้อิสระแก่บุคคลที่จะเลือกผู้ที่มาทำการอนุญาโตตุลาการ ซึ่งประเทศไทยก็มีพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 กำหนดเรื่องดังกล่าวไว้ หรือในการอนุญาโตตุลาการต่างประเทศก็มีอนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับนับถือเช่นกัน (2) การเรียกพยานเอกสารและพยานวัตถุในการดำเนินกระบวนพิจารณาของอนุญาโตตุลาการนั้น ควรมีข้อกำหนดให้ชัดเจนและระบุไว้ในสัญญาระงับข้อพิพาทระหว่างบริษัทประกันภัย เพื่อที่อนุญาโตตุลาการจะได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของการอนุญาโตตุลาการและสัญญาระงับข้อพิพาทระหว่างบริษัทประกันภัย (3) การไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนอมข้อพิพาทและคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ สมาคมประกันวินาศภัยควรมีบทบาทในการที่จะทำให้สัญญาประนอมข้อพิพาทและคำชี้ขาด อนุญาโตตุลาการมีผลที่จะทำให้ฝ่ายที่ไม่ปฏิบัติตามคำชี้ขาดดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการ อนุญาโตตุลาการโดยไม่ต้องร้องต่อศาลอีกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาคมประกันวินาศภัยth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการระงับข้อพิพาท--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบังคับใช้กฎหมายth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายธุรกิจth_TH
dc.titleอุปสรรคในกระบวนการอนุญาโตตุลาการสมาคมประกันวินาศภัยth_TH
dc.title.alternativeProblems of arbitration proceeding of the general insurance associationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study principles and theoretical concepts of arbitration, the Accident Insurance Association's use of contracts to resolve conflicts between insurance companies, and the rights of the disputing partiesto choose arbitrators and to use their rights in processing the conflict; (2) to study the laws of Thailand and other countries concerned with the settlement of automobile insurance disputes through arbitration; (3) to analyze problems with the Accident Insurance Association's method of arbitration to settle disputes between insurance companies and obstacles to the settlement contracts formed; and (4) to form recommendations for improving those settlements. This was a descriptive research based mainly on documentary research to analyze obstacles to the Accident Insurance Association's arbitration process and settlement contracts, as well as related laws in Thailand and other countries. The results showed that (1) Some of the settlement contracts made as a result of the Accident Insurance Association's artibration process do not fully meet the objectives of the arbitration process, because ideally the disputing parties should be given the freedom to choose the arbitrators. This right is given under Thailand's Arbitration Act of 2005, and in other countries the arbitration laws also have by-laws about mutual consent. (2) The documentary evidence and material evidence considered by the arbitration committee should be clearly stated in the settlement contract in order to fulfill the objectives of the arbitration process and the settlement contract. (3) In the case that one of the parties does not fulfill the terms of the settlement contract or does not follow the ruling of the arbitration committee, the Accident Insurance Association should have a role in enforcing the arbitration committee's ruling and insuring that both parties uphold the contract without having to take recourse to legal action in a court of law again.eu_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130673.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.88 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons