Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิชth_TH
dc.contributor.authorธีรเดช มีสวยพงศ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-11T03:05:03Z-
dc.date.available2024-06-11T03:05:03Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12210-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคดีแพ่งในชั้นพนักงานอัยการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับหลักการของ กระบวนการยุติธรรมทางเลือกที่สามารถนำมาใช้ในการไกล่ เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคดีแพ่งในชั้นพนักงานอัยการโดยได้ศึกษาเปรียบเทียบการนำกระบวนการ ยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคดีแพ่งของศาลยุติธรรมเปรียบเทียบกับ ของสำนักงานอัยการสูงสุด เพื่อวิเคราะห์ให้เห็นปัญหาเกี่ยวกับการนำกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ ในการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคดีแพ่งในชั้นพนักงานอัยการและเพื่อหาแนวทางแก้ไขกฎหมายที่ เกี่ยวข้องและวางหลักเกณฑ์ที่เหมาะสมเกี่ยวกับการนำกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในการไกล่ เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคดีแพ่งในชั้นพนักงานอัยการ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) โดยการวิจัยทาง เอกสาร(Documentary Research)จากการค้นคว้ารวบรวมจากเอกสารกฎหมาย ทั้งจากประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติองค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.2553 รวมทั้งกฎหมายต่างๆ ของ ประเทศไทยและของต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง บทความ และตำราทางกฎหมายทั้งของประเทศไทยและ ต่างประเทศ ตลอดจนข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการยุติธรรมทางเลือกเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งมิใช่ กระบวนการที่จะใช้ทดแทนกระบวนการยุติธรรมหลัก จึงเป็นวิถีทางที่สร้างประโยชน์ให้กับระบบ ยุติธรรมทั้งทางแพ่งและทางอาญาได้ กระบวนการยุติธรรมทางเลือกนี้นอกจากจะเป็นการระงับข้อพิพาท ที่มีอยู่ ยังสร้างความสามัคคีและความปรองดองให้กลับคืนมาสู่คู่กรณีทั้งผู้เสียหายและผู้กระทำความผิด ตลอดจนคู่พิพาททางแพ่งให้ได้รับประโยชน์สูงสุด ในทางแพ่งนั้นซึ่งหากสามารถไกล่เกลี่ยและประนอม ข้อพิพาทกันได้ จะทำให้ข้อพิพาทยุติลง ไม่ต้องนำคดีดังกล่าวเพื่อฟ้องร้องคดีต่อศาลยุติธรรม ซึ่งถือได้ว่า เป็นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุและน่าจะเป็นผลดีมากกว่าที่จะต้องมีการยื่นฟ้องคดีต่อศาลซึ่งไม่แน่ว่าจะถึง ที่สุดเมื่อใด เป็นการลดภาระและค่าใช้จ่ายของกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบ ถือได้ว่าเป็นสิ่งจำเป็นใน การนำไปสู่จุดมุ่งหมายที่จะอำนวยความยุติธรรมให้บังเกิดกับประชาชน ทั้งยังช่วยบรรเทาให้ปริมาณคดี ให้ลดน้อยลง เนื่องจากหากมีคดีค้างพิจารณาจำนวนมากจะก่อให้เกิดความเสียหายกับคู่ความ และเกิดผล เสียหายต่อเศรษฐกิจของชาติโดยรวมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการไกล่เกลี่ยth_TH
dc.subjectการระงับข้อพิพาทth_TH
dc.subjectคดีแพ่งth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทคดีแพ่งในชั้นพนักงานอัยการth_TH
dc.title.alternativeMediation by public prosecutors for the civil casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to study the principle of alternative procedural justice applicable to mediation and conciliation by public prosecutors in a civil case. The comparison has been made between the alternative procedural justice of the Court of Justice and that of the office of Attorney General so as to address problems concerning the application of the alternative procedural justice to mediation and conciliation by public prosecutors in a civil case, find approaches to amend related laws and issue proper guidelines in relation to such application. This independent study is the qualitative research conducted based on documentary research by analyze sources including the Civil and Commercial Code, the Public Prosecutor Organization and Public Prosecutors Act B.E. 2553, Thai and foreign legislations, law books and journals from Thailand and abroad, and information on the internet and from relevant organizations. This research found that the alternative procedural justice was a choice not a substitute procedure and could bring about benefits to both civil and criminal judicial systems. Apart from resolving disputes, it would build harmony and unity to parties-injured person, the convicted, and private contestants-who ultimately gained the best possible advantages. The success of mediation and conciliation in civil cases resolved disputes from the origin and better of trial a case in the court which tends to have an infinite end. The burdens and expenses of the entire judicial system was decreased. This is necessary to achieve a goal as to do justice in a society and lower the number of court cases. Pending cases cost disadvantage the parties and overall national economicen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134096.pdfเอกสารฉบับเต็ม31.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons