Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12225
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | วิไล ชาปู่ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-14T03:21:16Z | - |
dc.date.available | 2024-06-14T03:21:16Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12225 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) ผนวกการใช้ชุดฝึกในวิชาเคมี เรื่อง สารละลาย หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนดังกล่าว ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเลาขวัญราษฎร์บำรุง จังหวัดกาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563จำนวน 1 ห้องเรียน 33 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) ผนวกการใช้ชุดฝึก เรื่อง สารละลาย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี และแบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนดังกล่าวที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) ผนวกการใช้ชุดฝึก เรื่อง สารละลาย หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนดังกล่าวหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การเรียนรู้แบบผสมผสาน | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น (7E) ผนวกการใช้ชุดฝึก ในวิชาเคมี เรื่อง สารละลาย ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเลาขวัญราษฎร์บำรุง จังหวัดกาญจนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using 7E inquiry instruction together with practice activities package in the topic of Solution on chemistry learning achievement and analytical thinking abilities of Grade 11 students at Lao khwan Ratbumrung School in Kanchanaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) compare the chemistry learning achievement of Grade 11 students who learned by using the 7E inquiry instruction together with practice activities package in the topic of Solution with the 75 percent criterion; and 2) compare analytical thinking abilities of the students before and after learning. The research sample consisted of 33 Grade 11 students who studied in the first semester of the 2020 in 1 intact classroom at Lao khwan Ratbumrung School in Kanchanaburi Province, obtained by cluster random sampling. The research instruments were 7E inquiry instruction together with practice activities package in the topic of Solution, chemistry learning achievement test , and analytical thinking abilities assessment form. The statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test for dependent sample. The results showed that; 1) the chemistry learning achievement after learning of the students who learned by using the 7E inquiry instruction together with practice activities package in the topic of Solution was significantly higher than the 75 percent criterion at the .05 level; and 2) the analytical thinking abilities after learning of the students was significantly higher than their before learning at the .05 level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 33.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License