Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัศนา หาญพลth_TH
dc.contributor.authorปิติมา แก้วเขียว, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-29T03:39:01Z-
dc.date.available2022-08-29T03:39:01Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1224en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และ 2) ศึกษาปัญหาการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรได้แก่ บรรณารักษ์ตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ 9 แห่ง จำนวน 33 คน ประกอบด้วยบรรณารักษ์จากห้องสมุดกลาง จำนวน 9 คน และบรรณารักษ์จากห้องสมุดคณะที่มีการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างจัดเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์แบบเผชิญหน้าและสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า 1) บรรณารักษ์ห้องสมุด (ร้อยละ 66.66) มีการกำหนดนโยบายการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์เป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในนโยบายพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด แหล่งงบประมาณได้มาจาก 2 แหล่ง คือ เงินงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ของห้องสมุดโดยมีการจัดสรรงบประมาณสำหรับการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์เป็นสัดส่วนร้อยละที่ชัดเจนผู้คัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ81.81) คืออาจารย์และบรรณารักษ์กรณีวารสารเน้นการบอกรับในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพียงแบบเดียว ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 96.96) บอกรับผ่านตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทย ปัจจุบันนอกจาก ThaiLIS และ PULINET แล้วไม่มีการบอกรับแบบภาคีสมาชิก แต่บรรณารักษ์ห้องสมุด (ร้อยละ 66.66) มีความร่วมมือระหว่างห้องสมุดกลางและห้องสมุดคณะเพื่อประหยัดงบประมาณและลดความซ้ำซ้อนของทรัพยากรสารสนเทศ 2) ปัญหาการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ บรรณารักษ์ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 33.33) ประสบปัญหาด้านการบริหารจัดการ เรื่องความล่าช้าในการชำระเงิน ปัญหาด้านการจัดซื้อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องซื้อเป็นชุด/ทั้งฐานข้อมูล ทำให้งบประมาณไม่เพียงพอ (ร้อยละ 18.18) และปัญหาด้านบุคลากรผู้รับผิดชอบงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์คือการประสบกับความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินงานที่ต้องเรียนรู้ใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจากการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ (ร้อยละ 15.15)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.114en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาth_TH
dc.subjectสารสนเทศ--การจัดการth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรห้องสมุดth_TH
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeCollection development of university libraries' electronic resources in the National Research University Projecten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.114-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was 1) to study the electronic information resources development of university libraries in the National Research University Project and 2) to study problems of electronic information resources development by university libraries in the National Research University Development Project. This research is a qualitative study. The population is comprised of 33 librarians who are heads of collection development departments at 9 national research universities. Nine librarians were from central libraries and 24 from faculty libraries that acquired electronic information resources by themselves. The research tool was a semi-structured interview form. The data were collected by face-to-face and telephone interviews. Descriptive analysis was used for data analysis. The findings were as follows: 1) 66.66% of librarians had established written policy for electronic information resource acquisition under the collection development policy. Budgets for electronic information resources have two sources, the national budget and library income, which have been proportioned for acquisitions. Electronic information resources were mainly selected by faculties and librarians (81.81%). Journals were mainly acquired by subscription in electronic format only through agents in Thailand (96.96%). No subscription through the library consortium has been made at present, except ThaiLIS and PULINET. For 66.66% of librarians, there was collaboration between academic central libraries and faculty libraries in the university in order to save money and reduce the overlap in information resources. 2) Regarding problems of electronic information resources acquisition, most librarians ( 33.33%) face managerial problems of late payment, problems in purchasing e-books that need to be bought as a package or as a whole database, for which there is insufficient budget (18.18%), and problems regarding the personnel in charge of electronic information resources acquisition due to changes in the operational process. These personnel need to learn more about resource acquisition beyond print formats (15.15%)en_US
dc.contributor.coadvisorพวา พันธุ์เมฆาth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (9).pdfเอกสารฉบับเต็ม36.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons