Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12270
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา | th_TH |
dc.contributor.author | วิทยา สัตย์จิตร | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-19T08:24:31Z | - |
dc.date.available | 2024-06-19T08:24:31Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12270 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายเกาะกลางคลองยางจังหวัดกระบี่ ก่อนและหลังการได้รับการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบซิปปาร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มในการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนดังกล่าว หลังการได้รับการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบซิปปาร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด จำนวน 16 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการเรียนรู้แบบซิปปาร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และแบบประเมินความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างมีผลการประเมินอยู่ในระดับดี และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | การทำงานกลุ่มในการศึกษา | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบซิปปาร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่และความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายเกาะกลางคลองยาง จังหวัดกระบี่ | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of science learning management using CIPPA Model together with STAD technique of cooperative learning on learning achievement in the topic of Force and Motion and Group Working Ability of Prathom Suksa III students at Koh Klang Klong Yang Network School Cluster in Krabi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare learning achievements in the topic of Force and Motion of Prathom Suksa III students of Kho Klang Klong Yang Network School Cluster in Krabi Province before and after learning under the science learning management using CIPPA model together with STAD technique of cooperative learning, and (2) to compare group working ability of the students against the 70 percent of full score criterion. The research sample consisted of 16 Prathom Suksa III students of Ban Klongyanat School in Krabi province, obtained by cluster random sampling. The research instruments were science learning management plans for CIPPA model together with STAD technique of cooperative learning, a science learning achievement test, and a scale to assess group working ability. Statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The findings of this study were (1) the post-learning achievement on the topic of Force and Motion of the sample group students was higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of significance; and (2) the group working ability of the sample group students was assessed to be at the good level and was higher than the 70 percent of full score criterion at .05 level of significance | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License