Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนศักดิ์ สายจำปาth_TH
dc.contributor.authorแสวง สำราญดี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-20T03:35:19Z-
dc.date.available2024-06-20T03:35:19Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12281-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การใช้อำนาจตามมาตรา 44 กับการบริหารงานบุคคลท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม (2) ผลกระทบด้านการจัดบริการสาธารณะในจังหวัดมหาสารคาม อันเป็นผลจากการใช้อำนาจตามมาตรา 44 กับการบริหารงานบุคคลท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม (3) ผลกระทบด้านการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม อันเป็นผลจากการใช้อำนาจตามมาตรา 44 กับการบริหารงานบุคคลท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย ประชาชนผู้รับประโยชน์ ข้าราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้กำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น จำนวน 37 คน ได้มาจากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า การที่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ใช้อำนาจตามมาตรา 44 ออกคำสั่งให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม ระงับการปฏิบัติราชการหรือหน้าที่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้ข้าราชการส่วนท้องถิ่นไปช่วยราชการที่ศาลากลางจังหวัดมหาสารคามเป็นระยะเวลายาวนาน ทำให้เกิดผลกระทบ ดังนี้ 1) การบริหารงานบุคคลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถูกรวมศูนย์อำนาจไว้ที่ส่วนกลาง ไม่เป็นไปตามหลักการกระจายอำนาจและหลักความเป็นอิสระตามรัฐธรรมนูญ 2) ประชาชนไม่ได้รับบริการสาธารณะตามที่เคยได้รับจากการที่ผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนการให้บริการสาธารณะขาดประสิทธิภาพ เช่น น้ำประปาไม่สะอาด ไม่เก็บขยะตามระยะเวลา ทำให้ขยะเน่าเหม็นรถดับเพลิงและรถกู้ชีพไม่พร้อมใช้งานเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ โครงสร้างพื้นฐานขาดการพัฒนา 3) ระบบการเมืองการบริหารท้องถิ่น เป็นการบริหารแบบระบบรัฐราชการ ประชาชนไม่สามารถใช้กลไกในการถอดถอน ได้ เป็นการทำลายระบอบประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectคณะรักษาความสงบแห่งชาติth_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.subjectรัฐประหารth_TH
dc.titleการใช้อำนาจตามมาตรา 44 ของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติกับการปกครองท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeThe exercise of power under section 44 of National Council for Peace and Order (NCPO) and the Administration of Local government in Maha Sarakham Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study (1) the exercise of power under Section 44 of National Council for Peace and Order (NCPO) and the administration of Local government in Maha Sarakham province, (2) Impacts of public service management from the exercise of power usage under section 44 and the Local Personnel Administration in Maha Sarakham Province, and (3) Impact on local politics from the exercise of power under section 44 to Local Personnel Administration in Maha Sarakham Province. This study was qualitative research: the target population was divided into 4 groups: (1) beneficiary citizens, (2) government officials and local employees, (3) local council members, and (4) village chiefs/village headmen who have the duty to supervise local government organizations, totaling 37 people; It was obtained from the specific selection, the research tools, the interview, and the descriptive data analysis. According to the National Council for Peace and Order (NCPO) do the power from section 44 for issuing an order for the administrators of the local government organization in Maha Sarakham Province to stop performing official duties or duties in the local government organization and ordered the local officials to help government officials at Maha Sarakham City Hall for a long time which causing the following effects; 1) the personnel management in local government organizations is centralized, which does not comply with decentralization and constitutional independence principles. 2) The people are not organized in public services as they had been provided by local administrators elected by the people, Inefficient public services such as unclean tap water, not collecting litter according to the period of time causing bad waste, the fire engines and rescuers were unavailable in the event of disasters, lack of infrastructure developing. 3) The political system, the local administration, is a which makes it impossible for the people to use the removal mechanism, which is the destruction of democracy at the local level.en_US
dc.contributor.coadvisorพิศาล มุกดารัศมีth_TH
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons