Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12287
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
dc.contributor.author | ลินดา ขวนขวายทรัพย์ | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-20T06:40:01Z | - |
dc.date.available | 2024-06-20T06:40:01Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12287 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล การเสริมสร้างพลังอำนาจ และระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลการเสริมสร้างพลังอำนาจกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และ (3) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลและการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในมุมมองของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร ประชากรที่ศึกษา คือ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ที่ปฏิบัติงานเต็มเวลาและทำงานมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 888 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 292 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิตามเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงอยู่ระหว่าง 0.88 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยกลุ่มงานใช้สถิติเชิงพรรณนาไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ แบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานในกลุ่มงานด้านสุขภาพ และมีประสบการณ์การทำงาน 1 - 5 ปี มีระดับการเสริมสร้างพลังอำนาจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และมีระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในมุมมองของเจ้าหน้าที่ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา กลุ่มงาน และประสบการณ์การทำงานไม่มีความสัมพันธ์กับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ส่วนการเสริมสร้างพลังอำนาจรายด้านและโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และ (3) การเสริมสร้างพลังอำนาจโดยรวมสามารถพยากรณ์การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ได้ร้อยละ 38.00 (R-0.380) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้องค์การ | th_TH |
dc.title | การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Being a learning organization : a case study of Chulabhorn Hospital in Bangkok | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this descriptive research were: (1) to identify personal factors, empowerment, and the level of learning organization; (2) to determine the relationships between personal factors as well as empowerment and being a learning organization; and (3) to explore the influence of personal factors and empowerment on being a learning organization in staff’s perspective at Chulabhorn Hospital in Bangkok. The participants were 292 staff members selected using stratified random sampling according to work characteristics out of 888 full-time personnel who had been working for at least one year at Chulabhorn Hospital. A survey questionnaire with the validity value between 0.88 and 0.92 was administered to the participants. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square, Pearson’s correlation coefficient, Spearman's coefficient and multiple stepwise regression analysis. The findings showed that: (1) among all respondents, most of them were female and 40 years of age or under, had completed a bachelor’s degree, worked in health-care sections with 1–5 years of work experience, and had high levels of empowerment and learning organization perceptions; (2) personal factors (gender, age, educational level, work section, and work experience) had no relationship with being a learning organization, while overall and aspect-specific empowerment factors had positive relationships with being a learning organization at a moderate level; and (3) the overall staff empowerment could 38% predict the level of being a learning organization at Chulabhorn Hospital (R2=0.380; significance level, 0.001). | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พรทิพย์ กีระพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License