Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12300
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ | th_TH |
dc.contributor.author | จันทนา ปันทะนันท์ | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-06-24T06:30:21Z | - |
dc.date.available | 2024-06-24T06:30:21Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12300 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไป สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตลำไย 3) กระบวนการจัดการความรู้การผลิตลำไย 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการจัดการความรู้การผลิตลำไย ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรเกินครึ่งเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 60.58 ปี จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ประสบการณ์ในการผลิตลำไยเฉลี่ย 18.33 ปี ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการผลิตลำไยเฉลี่ย 4.78 ครั้งต่อปี มีพื้นที่ปลูกลำไย เฉลี่ย 4.32 ไร่ ผลผลิตลำไยเฉลี่ย 504 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้ครัวเรือนจากภาคการเกษตรในรอบปี 2564 เฉลี่ย 32,337 บาท รายได้จากการขายผลผลิตลำไยเฉลี่ย 12,534 บาทต่อปี 2) เกษตรกรส่วนใหญ่ผลิตลำไยในฤดูไม่มีการบังคับการออกดอก ไม่มีการคัดเกรดผลผลิตลำไย จำหน่ายลำไยในรูปแบบช่อผลสด และส่วนใหญ่ยังไม่ได้การรับรองมาตรฐานเกษตรดีที่เหมาะสมในการผลิตลำไย 3) กระบวนการจัดการความรู้การผลิตลำไย เกษตรกรมีการปฏิบัติตามขั้นตอนของกระบวนการจัดการความรู้อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ (1) การบ่งชี้ความรู้ โดยมีการบ่งชี้ความรู้เรื่องการผลิตลำไยนอกฤดูโดยการบังคับการออกดอก (2) การสร้างและการแสวงหาความรู้ จากเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จและจากการปฏิบัติสั่งสมประสบการณ์ (3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ ยังไม่มีการจัดเก็บความรู้ให้เป็นระบบ (4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ มีการประมวลและเก็บไว้ในความทรงจำของบุคคล (S) การเข้าถึงความรู้ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ โดยการทำกิจกรรมกลุ่มการจัดงานสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน (7) การเรียนรู้ มีการนำความรู้มาใช้ในการแก้ไขปัญหา 4) เกษตรกรมีปัญหาในการจัดการความรู้ให้เป็นระบบอยู่ในระดับมาก ในประเด็นไม่มีการจัดความรู้เป็นหมวดหมู่เพื่อให้สามารถสืบค้นง่าย และมีข้อเสนอแนะอยู่ในระดับมาก ในประเด็นการนำความรู้ที่ได้จากทั้งภายในและภายนอกมาทดลองปฏิบัติในการผลิตลำไย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ลำไย--การผลิต-- ไทย--แพร่ | th_TH |
dc.title | การจัดการความรู้การผลิตลำไยของเกษตรกรอำเภอสอง จังหวัดแพร่ | th_TH |
dc.title.alternative | Knowledge management of longan production of farmers in Song District, Phrae Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) general, socio-economic conditions of farmers; 2) condition of longan production; 3) knowledge management process of longan production; and 4) problems and suggestions to extension in knowledge management of longan production of farmers. The population of the study was 197 longan farmers in Song district, Phrae province in 2021. From the total population, a sample of 132 producers was selected via a simple random sampling method through lotto picking and computed using the Taro Yamane formula with an error value of 0.05. This research made use of an interview instrument. Data were analyzed using descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, minimum value, maximum value, and standard deviation. The summary of findings was discussed. 1) more than half of the farmers were male with an average age of 60.58 years old. They completed primary school of grade 6 education with an average experience in longan production of 18.33 years. They also received training on longan production of about 4.78 times/year. The longan production area was on average 4.32 Rai with a mean longan productivity of 504 kilogram/Rai. On average, the household income from the agricultural sector in 2021 was 32,337.12 Baht while the income from selling the longan products was 12,534 Baht/year. 2) most farmers produced in-season longan without forced flowering, there were no grading of longan product and most of the longan was sold in the form of fresh bouquets. Most of them had not been certified for good agricultural practice in longan production. 3) on the knowledge management process of longan production, farmers practiced according to the steps in the knowledge management process of farmer method at the moderate level such as (1) knowledge indication about off-season longan production by using the forced flowering method; (2) creation and seeking of knowledge from successful farmers and accumulated practice experience; (3) absence of systematic knowledge storage; (4) presence of processing and storing of personal memories; (5) knowledge accessibility using information technology systems; (6) knowledge sharing and exchanging through participation in group activity and seminars for mutual learning exchange; and lastly, (7) on learning, the adoption of knowledge to solve problems. 4) the farmers faced the problem of systematic knowledge management at a high level specifically, on the issue of no categorization to make it easier for searching. Knowledge adoption from both internal and external areas for longan production and adopting them into real practice was highly suggested | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พลสราญ สราญรมย์ | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License