Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12307
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorหทัยทิพย์ ยอดสุขประเสริฐ, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-06-25T06:22:12Z-
dc.date.available2024-06-25T06:22:12Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12307-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสมของนักเรียนในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการทดลอง (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลองและ (3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสมในกลุ่มทดลองหลังทดลอง กับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนารีวิทยา จังหวัดราชบุรี ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) แบบวัด ได้แก่พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสมมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .98 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสม จำนวน 10 กิจกรรม และกิจกรรมแนะแนวแบบปกติสำหรับกลุ่มควบคุม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสม มีพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสมหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสม มีพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างเหมาะสมสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสม มีพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสม หลังการทดลองกับระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์กับวัยรุ่นth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมที่เหมาะสมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนนารีวิทยา จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of taking the activities guidance package to develop behavior in using the proper social media of Matthayom Suksa 6 students, Narivittaya School Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to (1) to compare the behavior in using the proper social network of the students for both pre and post of the experimental group (2) to compare the M6 students’ behavior in using the proper social network for the experimental group and the control group after the experiment and (3) to compare the behavior in using the proper social network of the experimental, after experimental and the follow - up groups. The sample used in the research were the Mattayom 6 students in Narivittaya School, Ratchaburi Province. The Simple Random Sampling were as the one of the experimental group and the control group, each group for 40 students. The tools were used in the research consisted of (1) the behavior measurement of the using proper social network with the reliability of the whole version, equal to .98 (2) the activities guidance package to develop the behavior using the proper social network for 10 activities and the regular activity guidance for the control group. The statistics was used in the data analysis were the mean, standard deviation. and t - test The result of the research finding were that : (1) Students in the experimental group that used the activity guidance to develop the behavior in using the proper social network. After the experiment found that their behavior was higher proper than before the experiment at the level of .05 (2) Students in the experimental group that used the activity guidance to develop the behavior in the proper social network were statistical significance higher than the control group using the usual activity guidance at the level of .05 (3) Students in the experimental group that used the regular activity guidance to develop their behavior in using the proper social network. Their behavior was proper after the experiment and the follow–up period, there were no statistically significant differenceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons