Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12318
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทยาธร ท่อแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกานต์ บุญศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิสูตร ประกอบ, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-25T08:26:20Z-
dc.date.available2024-06-25T08:26:20Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12318-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.(นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนบ้านท่าข้ามควาย จังหวัดสตูล เกี่ยวกับ 1) กระบวนการสื่อสาร 2) การจัดการเครือข่ายการสื่อสาร และ 3) แนวทางการพัฒนาการสื่อสาร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจงจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับการท่องเที่ยวชุมชนบ้านท่าข้ามควาย จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการสร้างข้อสรุป ผลการศึกษาพบว่า 1) กระบวนการสื่อสาร ประกอบด้วย (1) ผู้ส่งสาร คือ ผู้มีหน้าที่ร่วมในการปฏิบัติงานด้านการท่องเที่ยวซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวชุมชนบ้านท่าข้ามควาย ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน สมาชิกเครือข่ายการท่องเที่ยวผู้นำชุมชน นักท่องเที่ยวที่เข้ามาศึกษาดูงานและเข้ามาท่องเที่ยวชุมชนบ้านท่าข้ามควาย (2)เนื้อหา คือ ประวัติชุมชน วัฒนธรรม ประเพณี แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ของชุมชน สินค้าชุมชน และแนวความคิดการจัดการท่องเที่ยวชุมชนท่าข้ามควาย (3) สื่อ คือ สื่อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวชุมชน สื่อป้ายขนาดเล็ก ป้ายขนาดใหญ่ เอกสารแจก แผ่นพับ กิจกรรมการท่องเที่ยวเว็บไซต์ของผู้ทรงอิทธิพล เฟซบุ๊ก ไลน์กลุ่ม และยูทูป (4) ผู้รับสาร คือ นักท่องเที่ยว ผู้ที่สนใจศึกษารูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบ นักพัฒนาชุมชน นักศึกษา และนักวิจัย (5) ผลการสื่อสาร คือ นักท่องเที่ยวได้มีความรู้ความเข้าใจและมีประสบการณ์การท่องเที่ยวชุมชนเชิงวัฒนธรรมและเชิงนิเวศน์และการบริหารจัดการชุมชนเพื่อการท่องเที่ยว 2) การจัดการเครือข่ายการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว ประกอบด้วย (1) การรวมตัวของเครือข่ายการท่องเที่ยวที่เข้มแข็ง มุ่งมั่นสร้างอัตลักษณ์การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (2) การกำหนดภารกิจและหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่ายมีแผนงานการจัดการการสื่อสารที่ชัดเจน (3) การปฏิบัติการสื่อสารโดยมุ่งเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ ทุกรูปแบบ และ (4) การจัดปัจจัยสนับสนุนการสื่อสารจากกลุ่มเครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และหน่วยงานของรัฐโดยเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน 3) แนวทางการพัฒนาการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยว ประกอบด้วย (1) การเพิ่มพูนทักษะการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ให้กับเครือข่ายการสื่อสาร พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ภาษาจีนให้กับมัคคุเทศก์ชุมชนและผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง (2) การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวที่แปลกใหม่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยว (3) การยกระดับการร่วมคิด ร่วมทำของผู้นำที่เป็นนักปกครองท้องที่ นักปกครองท้องถิ่นในพื้นที่ สมาชิกเครือข่ายการท่องเที่ยว และประชาชนในชุมชนให้เป็นชุมชนการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนและสร้างรายได้ที่มั่นคงให้กับชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวโดยชุมชน--ไทย--สตูลth_TH
dc.subjectการสื่อสารในการพัฒนาชุมชน--ไทย--สตูลth_TH
dc.titleการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนบ้านท่าข้ามควาย จังหวัดสตูลth_TH
dc.title.alternativeCommunication for community-based tourism of Tha Kham Kwai Community, Satun Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองการปกครองท้องถิ่น)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the communication for community-based tourism of Tha Kham Kwai Community, Satun Province in terms of 1) the communication process; 2) management of the communication network; and 3) approaches for developing communication. This was a qualitative research based on in-depth interviews with thirty-five key informants who were criterion based selection from among people directly involved with community-based tourism in Tha Kham Kwai Community. The data collection tool was a semi-structured in-depth interview form. Data were analyzed deductively. The results showed that 1) the communications process consisted of (1) the message senders, who were people responsible for tourism operations who were knowledgeable about tourism in Tha Kham Kwai, including village headmen, personnel of Na Thon Sub-district Administrative Organization, members of the tourism network, community leaders, and tourists/study visitors; (2) message content included local history, culture and traditions, eco-tourism sites, community products and concepts about managing community tourism in Tha Kham Kwai; (3) message channles, including personal media, small and large billboards, pamphlets and other printed documents, tourism activities, websites of influential people, Facebook, Line groups and YouTube; (4) message receivers were tourists, people interested in model examples of community tourism management, community developers, students and researchers; (5) the results of communication were that tourists gained knowledge and understanding, enjoyed cultural and environmental tourism experiences, and learned about community tourism management. 2) Management of the communication network consisted of (1) the joining together of a strong tourism network intent on building an identity for sustainable tourism; (2) designating the roles and responsibilities of each party within a clear communications management plan; (3) operations with an emphasis on disseminating information using every kind of media; and (4) managing factors of support from network members, tourism enterprises, tourists, and government agencies, especially the Na Thon District Administrative Organization. 3) approaches for developing communication included (1) expanding network members’ social media communication skills and developing English and Chinese language skills for community guides and related entrepreneurs; (2) developing new and unusual activities to attract tourists; and (3) raising the collaborative skills of local administrators, tourism network members and local residents for better co-thinking and co-working, to make the community into a sustainable tourism community and to generate a stable source of income for the communityen_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons