Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorราตรี ค้าโค, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-06-28T04:00:25Z-
dc.date.available2024-06-28T04:00:25Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12362en_US
dc.description.abstractจากสถิติ พ.ศ. 2550 มีผู้เข้ารับการผ่าตัดหัวใจทั้งประเทศถึง 12,162 ราย ซึ่งการที่มีผู้เข้ามารับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีนโยบายด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงภายในหน่วยงาน ภายใต้นโยบายหลักของโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้รับบริการและบุคลากรมีความปลอดภัยทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมรวมทั้งการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ควรมีการค้นหาปัญหาและมีมาตรการจัดการอย่างมีระบบ การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ได้นำการเสวนามาใช้ในหอผู้ป่วยสก.19 ผ่าตัดหัวใจ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ค้นหาปัญหาการจัดการงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ 2) จัดทำแนวทางปฏิบัติ เพื่อใช้ในการแก้ไขปรับปรุงระบบการจัดการงานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ภายในหอผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ ผลการศึกษามีดังนี้ 1) ปัญหาเรื่องการจัดการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมที่ได้จากการทำการเสวนา คือ ด้านอา ชีวอนามัย พบว่า บุคลากรละเลย ไม่ค่อยปฏิบัติตามหลักการการป้องกันการติดเชื้อ และ ไม่ใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอคภัยส่วนบุคคล ด้านความปลอดภัย ยังไม่มีความพร้อมในการพร้อมรับสถานการณ์เกิดอัดคีภัย ขาดการตรวจสอบระบบไฟฟ้าภายในหน่วยงาน และ การได้รับอุบัติเหตุจากของมีคมและสิ่งคัดหลั่งกระเด็นสัมผัสร่างกายจากการปฏิบัติงาน และด้านสิ่งแวดล้อม พบปัญหาเรื่องการคัดแยกและเก็บขยะ และ 2) แนวทางการจัดการปัญหาด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในหอผู้ป่วยสก.19 ผ่าตัดหัวใจ ที่จัดทำแบ่ง เป็น 5 บท คือ บทที่ 1 กระบวนการบริหารความเสี่ยง บทที่ 2 แนวทางการจัดการปัญหาด้านอาชีวอนามัย บทที่ 3 แนวทางการจัดการปัญหาด้านความปลอดภัย และบทที่ 4 แนวทางการจัดการปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอาชีวอนามัย--การจัดการth_TH
dc.subjectอนามัยสิ่งแวดล้อม--การจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleแนวทางการจัดการงานอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมกรณีศึกษาหอผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจth_TH
dc.title.alternativeGuideling on occupational health, safety and environment in the Cardio Surgery Warden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_115743.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons