Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12504
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข | th_TH |
dc.contributor.author | ธัญรัศม์ หิรัญวิศิษฏ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-13T03:35:06Z | - |
dc.date.available | 2024-07-13T03:35:06Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12504 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความผิดพลาดในการสื่อสารจากการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นและรูปแบบเดิม (2) เปรียบเทียบความผิดพลาดในการสื่อสารจากการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวรใหม่กับรูปแบบเดิม (3) เปรียบเทียบความผิดพลาดในการสื่อสารจากการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวร ใหม่กับรูปแบบเดิมจำแนกเป็นเวรปฏิบัติงาน และ (4) เปรียบเทียบความผิดพลาดในการสื่อสารระหว่างเวรเช้า เวรบ่าย และเวรดึกจากการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวรใหม่และรูปแบบเดิม กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป้วยศัลยกรรมได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ (1) รูปแบบรายงานการส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาล (2) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ และ (3) แบบบันทึกความผิดพลาดในการสื่อสาร เครื่องมือวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านและหาความเที่ยงของเครื่องมือส่วนที่ 3 โคยการคำนวณหาดัชนีความสอดคล้องตามสูตรของสก็อทท์ ได้เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่กรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) ความผิดพลาดในการสื่อสารจากการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวรที่ใช้กระบวนการพยาบาลกับรูปแบบเก่เท่ากับ 3.38 ครั้ง และ 10.5 ครั้ง ตามลำดับ (2) ความผิดพลาดในการสื่อสารจากการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวรใหม่น้อยกว่ารูปแบบเดิมอย่างมีนัยสำกัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (3) ความดพลาดในการสื่อสารจากการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวรใหม่ทั้งเวรเช้า เวรบ่ายและเวรดึกน้อยกว่ารูปแบบเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ (4) ความผิดพลาดในการสื่อสารจากการใช้รูปแบบใหม่ในเวรเช้ามากกว่าเวรบ่ายและเวรดึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ง.05 แต่ความผิดพลาดในการสื่อสารระหว่างเวรเช้าเวรบ่าย และเวรดึก จากการใช้รูปแบบเดิมไม่แดกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช--ระบบสื่อสาร | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารทางการพยาบาล | th_TH |
dc.title | ผลของการใช้รูปแบบรายงานการส่งเวรด้วยกระบวนการพยาบาลต่อความผิดพลาดในการสื่อสาร โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of utilizing a change of shift model with the nursing process on communication errors at Bhumibol Adulyadej Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this quasi-experiment study were 1) to study communication errors in using a developed change of shift report model with the nursing process and a previous model, 2) to compare communication errors between using the new and the previous models, 3) to compare communication errors between two models which was classified into working shifts, and 4) to compare communication errors among morning shift, evening shift, and night shift in using two models. The samples were 11 professional nurses who worked at a surgical ward in Bhumibol Adulyadej Hospital, and were chosen by selective sampling. The study tools consisted of 1) the change of shift report model with the nursing process, 2) a training program, and 3) an appraisal checklist of communication errors. The validity of the tools was verified by three experts. The third section which was done for reliability by inter-rater reliability of Scott analysis was 0.95. The data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation), paired t-test, and one-way analysis of variance. The findings were as follows. (1) The communication errors in using the change of shift report model with the nursing process and the previous one were 3.38 and 10.50 times respectively. (2) The communication errors in using the new model was significantly less than the previous one at the level 0.001. (3) The communication errors in using the new model during morning shift, evening shift, and night shift were all significantly less than the previous one at the level 0.001, and finally (4) the communication errors in using the new model during morning shift were significantly greater than evening shift and night shift at the level 0.05, where as the errors in using previous one were not significantly different. | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_140784.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License