กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12510
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวยth_TH
dc.contributor.authorนิตยา สุวรรณาภรณ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-13T07:03:37Z-
dc.date.available2024-07-13T07:03:37Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12510en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับคุณภาพบริการตามการรับรู้ของผู้รับบริการที่คลินิกตา แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 2) เปรียบเทียบคุณภาพบริการตามการรับรู้ของผู้รับบริการที่คลินิกตา แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ระหว่างกลุ่มที่มีอายุระดับการศึกษา และจำนวนครั้ง การเข้ารับบริการแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้รับบริการที่คลินิกตา แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จำนวน 390 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถามคุณภาพบริการที่ดัดแปลงมาจาก SERVQUAL ของพาราสุรามานและคณะ ผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ได้ค่าความตรงเท่ากับ 0.9 และทดสอบความเชื่อมั่น ได้ค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าครอนบาค เท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบครัสกล-วอลลิส ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับคุณภาพการบริการโดยรวมตามการรับรู้ของผู้รับบริการที่ คลินิกตา แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อยูในระดับมาก (X=4.43 SD=0.72) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเห็นอกเห็นใจ ด้านการตอบสนองต่อ ผู้รับบริการ และด้านการสร้างความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ อยู่ในระดับมาก สำหรับด้านความน่าเชื่อถือในการให้บริการและด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการมีการรับรู้คุณภาพบริการในระดับมากที่สุด 2) ผู้รับบริการที่มีอายุ และจำนวนครั้งการเข้ารับบริการแตกต่างกัน มีการรับรู้ คุณภาพบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผู้รับบริการที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีการรับรู้คุณภาพบริการแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แผนกผู้ป่วยนอกth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการบริการทางการแพทย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleคุณภาพบริการตามการรับรู้ของผู้รับบริการที่คลินิกตา แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชth_TH
dc.title.alternativeQuality of service as perceived by clients at eye clinic of the Outpatient Department Somdejphajaotaksinmaharaj Hospital pitalth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: 1) to study the level of quality of service as perceived by clients at the Eye clinic of the Outpatient Department at Somdejphajaotaksinmaharaj Hospital and 2) to compare quality of service as perceived by clients in terms of age, education level, and number of visits. The sample included 390 persons and was purposively selected at the Eye Clinic of the Outpatient Department, Somdejphajaotaksinmaharaj Hospital. Questionnaires modified from SERVQUAL, developed by Parasuraman and others, were used as research instruments. Content validity was verified by five experts, and was .09. The Cronbach's alpha reliability coefficient was .98. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and Kruskal-Wallis statistic. The study found as follows. 1) Clients rated quality of service at the Eye Clinic of the Outpatient Department, Somdejphajaotaksinmaharaj Hospital at the high level. (X= 4.43, S. D= 0.72) They rated quality of service in terms of empathy, responsiveness, and assurance at the high level and reliability and tangible at the highest level. 2) There were significant differences in assessment of quality of service depending on age and number of visits (p < .05); whereas, there was no significant difference in term of education.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Nurse-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_137483.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.53 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons