Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุขth_TH
dc.contributor.authorพะเนือง วะชังเงินth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T06:27:05Z-
dc.date.available2024-07-15T06:27:05Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12543en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการบันทึกที่เน้นกระบวนการพยาบาลและรูปแบบการบันทึกเดิม และ2) เปรียบเทียบคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลระหว่างการใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่เน้นกระบวนการพยาบาลและรูปแบบเดิม กลุ่มตัวอย่างเป็นแบบบันทึกทางการพยาบาลของผู้ป่วย จำนวน 68 แฟ้ม ที่ได้จากการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบสำรวจปัญหาและอุปสรรคของการบันทึกทางการพยาบาล 2) แบบตรวจสอบคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล (ความครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาลเชิงปริมาณความครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาลเชิงคุณภาพความถูกต้องตามหลักการบันทึกและความต่อเนื่องของการบันทึก) 3) คู่มือสำหรับการตรวจสอบคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาล1) รูปแบบบันทึกทางการพยาบาลที่เน้นกระบวนการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นและ 5) โครงการประชุมวิชาการเรื่องการใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาและเครื่องมือส่วนที่ 4 ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95,0.92.0.92และ 0.99 ตามลำดับวิเคราะห์ ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบของแมนวิทนีย์ยูและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลโดยใช้รูปแบบการบันทึกเดิมในด้านความครอบคลุมตามกระบวนการเชิงคุณภาพและด้านความต่อเนื่องของการบันทึกอยู่ในระดับต่ำ ส่วนด้านความครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาลเชิงปริมาณและด้านความถูกต้องตามหลักการบันทึกอยู่ในระดับต่ำมากแต่ค่เฉลี่ยของกะแนนคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล โดยการใช้รูปแบบการบันทึกใหม่ทั้ง 4 ด้านเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับดีมาก 2) เมื่อเปรียบเทียบกันพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลจากการใช้รูปแบบการบันทึกใหม่สูงกว่ารูปแบบการบันทึกเดิมทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบันทึกการพยาบาลth_TH
dc.titleผลของการใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่เน้นกระบวนการพยาบาลต่อคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลโรงพยาบาลชะอำth_TH
dc.title.alternativeEffects of utilizing a nursing record model focused on the nursing process on quality of the nursing record at Cha-Am Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study is an experimental research. The purposes were: 1) to explore quality of two nursing records one was focused on the nursing process and the other was traditional at Cha-Am Hospital and 2) to compare quality of nursing records between using the new record model and the traditional one. The sample comprised 68 nursing records. They were selected by the purposive sampling technique. Research tools consisted of 5 types including 1) problems and obstacles of nursing record survey, 2) an audit checklist of quality of the nursing record (a nursing process in quantity, and quality, charting accuracy, and continuity of charting), 3) a manual of auditing quality of the nursing record, 4) a nursing record model focused on the nursing process, and 5) a training project of utilizing the nursing record model which was developed by the researcher. All tools were tested for content validity. The reliabilities of the second part were 0.95, 0.92, 0.9 2 , and 0.99 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Mann-Whitney U test, and content analysis. The results were as follows. 1) The mean score of quality of nursing record by using the traditional nursing record modelin terms of quality and continuity of charting were at the low level. Also, the nursing process terms of in quantity and charting accuracy were at the very low level. After adopting the new model, all mean score of four parts of recording quality increased in the best level. Finally, 2) the mean score of the quality of nursing records by using the developed model was statistically and significantly higher than the previous one at the 0.01 levelen_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_149974.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons