Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12547
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิพร มูลศาสตร์th_TH
dc.contributor.authorมะลิ ธีรบัณฑิตกุลth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T06:48:40Z-
dc.date.available2024-07-15T06:48:40Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12547en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพบริการพยาบาลแบบเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (2) เปรียบเทียบคุณภาพบริการพยาบาลแบบเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางระหว่างกลุ่มที่มีความแตกต่างกันในด้านอายุ ระดับการศึกษา รายได้ และระยะเวลาวันนอน ตามกรรับรู้ของผู้รับบริการในหอผู้ป่วยโรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยา ประชากรเป็นผู้รับบริการในหอผู้ป่วยของโรงพยาบาลเชียงคำ จำนวน 8,099 คน กลุ่ม ตัวอย่างคือ ผู้รับบริการในหอผู้ป่วยของโรงพยาบาลเชียงคำ จำนวน 180 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลแบบเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามแนวคิดของเกอร์ตีส, เอดเมน-เลวิแทน, ดาลีย์ และ เดลแบนโค (1993)ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ 1) ด้านการเคารพในค่านิยม ความชอบ และความต้องการของผู้รับบริการ 2) ด้านการประสานงานและบูรณาการการดูแล 3 ด้านข้อมูลข่าวสาร การติดต่อสื่อสารและการให้ความรู้ 4) ด้านความสุขสบายทางค้านร่างกาย 5) ด้านการสนับสนุนด้านจิตใจ การบรรเทาความกลัวและความวิตกกังวล 1 ด้านการมีส่วนร่วมของครอบครัวและบุคคลใกล้ชิด และ 7 ด้านการส่งต่อและการดูแลต่อเนื่อง เครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 9.1 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาสถิติมีการวิเคราะห์การแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับคุณภาพบริการพยาบาลแบบเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางโรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (2) คุณภาพบริการพยาบาลแบบเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางตามกรรับรู้ของผู้รับบริการในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยา ระหว่างกลุ่มที่มีความแตกต่างกันในด้านอายุ ระดับการศึกษา รายได้ และ ระยะเวลาวันนอน ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการดูแลรักษาในโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การบริหารการพยาบาลth_TH
dc.titleคุณภาพบริการพยาบาลแบบเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางตามการรับรู้ของผู้รับบริการในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเชียงคำ จังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeQuality of nursing services based on Patient-centered as perceived by clients at the In-patient Departments of Chaingkham Hospital in Phayao Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to study quality of patient centered nursing services as perceived by clients at the In - patient Departments of Chaingkham Hospital in Phayao province and (2) to compare quality of patient-centered nursing services between clients in terms of age, education levels, incomes, length of stay, and types of disease. The population in this study consisted of 8,099 clients at the In - patient Departments of Chaingkham hospital in Phayao Province. The sample group comprised 180 clients selected by stratified random sampling. Questionnaire was used as research instrument and developed according to the concept of Gerteis, Edman-Levitan, Daley, and Delbanco (1993). Questionnaire comprised 7 domains: 1) respect for patients’ values, preferences, and needs, 2) coordination and integration of care, 3) information, communication, and health education, 4) physical comfort, 5) emotional support and alleviation of fear and anxiety, 6) involvement of family and friends, and 7) transition and continuity care. Validity was verified by five experts and it was .91. The reliability was .97. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t-test, and analysis of variance. The findings revealed as follows. (1) Clients rated quality of patient-centered nursing services at the In- patient Departments of Chaingkham hospital, Phayao province at the high level. (2) There was no significant difference of quality of patient-centered nursing services between the clients in terms of education levels, incomes, length of stay and types of disease at the significant level of .05.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_138851.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons