Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12552
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
dc.contributor.authorยุพดี ยิ่งคำแหงth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-15T07:11:43Z-
dc.date.available2024-07-15T07:11:43Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12552en_US
dc.description.abstractการศึกษาอิสระนีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยง หอผู้ป่วยในโรงพยาบาลเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะได้แก่ (1) ศึกษาสถานการณ์การบริหารความเสี่ยงของหอผู้ป่วยใน โดยการทบทวนวรรณกรรม การทบทวนรายงานอุบัติการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึกพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 6 คน (2) พัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเสลภูมิ โดยการสนทนา กลุ่มพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยในจำนวน 8 คน รวม 2 ครั้ง (3) นำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้ ในหอผู้ป่วยในเป็นเวลา 4 เดือน ประเมิน และปรับปรุงรูปแบบโดยการสนทนากลุ่มพยาบาลวิชาชีพ หอผู้ป่วยใน และนำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลเสลภูมิทุก 1 เดือน รวม 4 ครั้ง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลเสลภูมิ จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แนวคำถามในการสัมภาษณ์เจาะลึก และการสนทนากลุ่ม แบบประเมินรูปแบบการบริหารความเสี่ยงของหอผู้ป่วยใน แบบทบทวนการบันทึก รายงานอุบัติการณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลเสลภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบการบริหารความเสี่ยงหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเสลภูมิ ประกอบด้วย (1) การดำเนินการให้สามารถบันทึกรายงานอุบัติการณ์ในคอมพิวเตอร์ของหอผู้ป่วย (2) การจัดทำแผนนิเทศติดตามและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการจำแนกความเสี่ยงและวิธีการ บันทึก (3) การมอบหมายผู้บันทึกรายงานอุบัติการณ์ในระบบ 4) จัดทำแนวทางการบันทึก และ 5) การกำหนดแนวการทบทวนรายงานอุบัติการณ์ หลังการทดลองใช้รูปแบบ พบวา มีการระบุชื่อ เหตุการณ์ และสถานที่เกิดเหตุครบถ้วนร้อยละ 100 และการบันทึกวัน เวลาที่เกิด ของหอผู้ป่วยในหญิงเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 72.7th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเสลภูมิ--การบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบริหารความเสี่ยงหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a risk management model for in-patient units at Selaphum Hospital in Roi Et Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research and development aimed to develop a risk management model for In-patient Units at Selaphum Hospital in Roi Et Province. This research was divided into three phases. First, a situational analysis of risk management for In-patient Units at Selaphum Hospital in Roi Et Province was done by literature review, review of incident reports, and in-depth interview with six professional nurses. Second, the preliminary model was developed based on focus group discussions of eight professional nurses for two times. Third, the risk management model was implemented for four months, and then it was evaluated and improved by the results of focus group of professional nurses from In-patient Units before presenting to the risk management committee of Selaphum Hospital every month for four months. The research instruments included the in-depth interview and focus group discussion guidelines, the evaluation form of the risk management model, and the record form of the incidence report developed by the researcher. This record form was approved by risk management committee of the hospital. Data were analyzed by using percentage, mean, and content analysis. The results revealed that the risk management model for In-patient Units at Selaphum Hospital in Roi Et Province comprised five main characteristics. (1) All incidences of risk must be able to be recorded in the computers at the In-patient Units. (2) Supervision plan must be established in order to follow up and learning exchange of risk identification and record in the system. (3) Risk incident recorders must be assigned. (4) Guidelines for risk record must be offered. Finally, (5) specify guidelines for reviewing the incident report. After the model was implemented, all risks were recorded and places were specified completely (100%). Risks in terms of date and time of the Female In-patient Unit were recorded and this record was increased 72.7%.en_US
Appears in Collections:Nurse-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_140787.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons