Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12590
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิทักษ์ ศรีสุขใสth_TH
dc.contributor.authorดุลยพงษ์ ชยุตพงค์พันธุ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-07-18T02:37:21Z-
dc.date.available2024-07-18T02:37:21Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12590-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)วิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานของกองทุนรวมดัชนีที่จดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ (อีทีเอฟ) 2) วิเคราะห์ประสิทธิภาพการดำเนินงานของกองทุนรวมตราสารทุน 3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการดำเนินงานของกองทุนอีทีเอฟกับกองทุนรวมตราสารทุนและ 4)พยากรณ์อัตราผลตอบแทนรายวันของกองทุนอีทีเอฟและกองทุนรวมตราสารทุนด้วยแบบจำลองที่เหมาะสม การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ได้นำเครื่องมือที่ใช้ในการวัดประสิทธิภาพของการดำเนินงานของกองทุนรวมที่นิยมใช้กัน มาเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ประกอบด้วย 1)Information Ratio 2) Sortino Ratio 3)Tracking Error 4)Sharpe Ratio 5)Treynor Ratio 6) Jensen's Alpha และ7) ARIMA Model กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ อีทีเอฟจำนวน 13 กองทุน และกองทุนรวมตราสารทุนจำนวน 20 กองทุน ซึ่งกองทุนดังกล่าวมีนโยบายลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็นหลัก โดยเก็บข้อมูลรายวันย้อนหลังในการศึกษา ตั้งแต่เดือนมกราคม 2558 - เดือนธันวาคม 2562 ผลการวิจัยพบว่า 1) กองทุนรวมอีทีเอฟที่มีประสิทธิภาพการดำเนินงานสูงกว่า ตลาด ประกอบด้วย 4 กองทุนจากทั้งหมด 13 กองทุน 2) กองทุนรวมตราสารทุนที่มีประสิทธิภาพการดำเนินงานสูงกว่าตลาด ประกอบด้วย 5 กองทุน จากทั้งหมด 20 กองทุน 3) ผลการประมาณค่าจากแบบจำลองพบว่า กองทุนรวมอีทีเอฟ มีประสิทธิภาพการดำเนินงานสูงกว่ากองทุนรวมตราสารทุน 4) ผลการพยากรณ์อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยล่วงหน้าของกองทุนรวมอีทีเอฟ 13 กองทุน พบว่ามี9 กองทุนที่มีอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยล่วงหน้า 30 วัน สูงกว่าอัตราผลตอบแทนเฉลี่ย และมีเพียง 4กองทุนที่มีอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยล่วงหน้า 30 วัน ต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยในช่วงเวลาที่ศึกษา และยังพบว่า มีกองทุนรวมตราสารทุนจำนวน 7 กองทุนที่อัตราผลตอบแทนรายวันล่วงหน้า30 วันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และมีจำนวน 13 กองทุนที่มีอัตราผลตอบแทนรายวันมีแนวโน้มลดลงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectกองทุนรวมth_TH
dc.subjectตราสารทุนth_TH
dc.titleการวิเคราะห์เปรียบเทียบประสิทธิภาพการดำเนินงานของกองทุนรวมอีทีเอฟ และกองทุนรวมตราสารทุนth_TH
dc.title.alternativeThe comparative analysis of operational efficiency of Exchange Traded Funds and Equity Fundsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to 1) analyze the performance of Exchange Traded Funds ( ETFs) , 2) analyze the performance of equity funds, 3) compare the performance of ETFs and equity funds, and 4) forecast the average daily return of ETFs and equity funds with appropriate models. In this study, the models that were widely used to measure the performance of mutual funds were utilized for the analysis which included 1) Information Ratio, 2) Sortino Ratio, 3) Tracking Error, 4) Sharpe Ratio, 5) Treynor Ratio, 6) Jensen's Alpha, and 7) ARIMA Model. The samples used for the analysis were 13 ETFs and 20 equity funds. These funds primarily had the investment policy to invest in the Stock Exchange of Thailand. The data were collected daily between January 2015 and December 2019. The results of the research were as follows. 1) There were 4 out of 13 funds of ETFs that had performance higher than that of the market. 2) There were 5 out of 20 funds of equity funds that had performance higher than that of the market. 3) The estimated values from the models showed that ETFs had performance better than equity funds. 4) The forecast results of the forward average yield of 13 ETFs showed that 9 funds had an average 30-day yield higher than the average yield, and 4 funds had an average 30-day yield lower than the average yield within the study period. Moreover, 7 equity mutual funds had an increasing trend of an average 30-day yield and 13 funds had a decreasing trend of daily yield.en_US
dc.contributor.coadvisorอดิเรก วัชรพัฒนกุลth_TH
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม39.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons