Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศาสดา วิริยานุพงศ์th_TH
dc.contributor.authorกาญจน์บัณฑิต สนนุช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-07-24T06:41:54Z-
dc.date.available2024-07-24T06:41:54Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12612-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม (2) ศึกษาหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกระทำที่เป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (3) ศึกษาเปรียบเทียบมาตรการทางกฎหมายของไทยและของต่างประเทศที่เกี่ยวกับการป้องกันการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม (4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงและแก้ไข กฎหมายว่าด้วยการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ผลการศึกษา พบว่า (1) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 128 ไม่มีการระบุถึงการห้ามคู่สมรสรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดไว้ด้วย (2) ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าพนักงานของรัฐ พ.ศ. 2563กำหนดคำนิยามของ ญาติ ไม่ครอบคลุมถึงคู่สมรสที่อยู่กินฉันสามีภรรยาด้วย (3) มูลค่าทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่กำหนดให้เจ้าพนักงานของรัฐรับได้ตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าพนักงานของรัฐ พ.ศ. 2563 ที่กำหนดให้รับได้ซึ่งมีมูลค่าไม่เกินสามพันบาท ซึ่งจำนวนสามพันบาทเป็นจำนวนที่มากเกินไปจนอาจเป็นช่องทางก่อให้เกิดการทุจริตได้ (4) กฎหมายประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษไม่ได้มีการกล่าวถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากญาติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการขัดกันแห่งผลประโยชน์th_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th_TH
dc.titleการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561th_TH
dc.title.alternativeThe conflicts between personal interest and public interest. according to the Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561 (2018)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this independent study are: 1) to study concepts, theories and legal principles related to conflicts between personal and public interests; 2) to study rules on conflicted actions between personal and public interests according to the Organic Act on the Prevention and Suppression of Corruption; 3) to study and compare legal measures of Thai and foreign laws related to prevention of conflicts between personal and public interests; and 4) to suggest guidelines for developing and fixing laws on conflicts of interest. This independent study is a qualitative research project, in which legal documents, academic documents, textbooks, articles, thesis, and other related offline and online Thai and foreign documents were studied. The results of the study are as follows. 1) The Constitutional Act on the Prevention and Countermeasures of Corruption, B.E. 2561 (2018), Section 128, does not mention prohibition of spouses from receiving property or other benefits. 2) The announcement of the National Anti-Corruption Commission on criteria for ethical acceptance of assets or other benefits by government officials, B.E. 2563, gave a definition of relatives, which does not include spouses living as husband and wife. 3) The value of assets or any other benefits that state officials can receive according to the announcement of the National Anti-Corruption Commission on criteria for ethical acceptance of assets or other benefits by government officials shall not exceed 3,000 Baht, over which may cause corruption. 4) The laws of the United States and England do not refer to government officials receiving assets or other benefits from relativesen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons