Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจริญศักดิ์ แสงฉัตรสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorกรรณิการ์ สารกุมาร, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-07-27T14:45:52Z-
dc.date.available2024-07-27T14:45:52Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12621-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของธนาคารออมสินในสังกัดเขตน่าน (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของธนาคารออมสินในสังกัดเขตน่าน จำแนกตามลักษณะประชากรศาสตร์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ ลูกค้าที่มาใช้บริการธุรกรรมทางการเงินทุกประเภทกับธนาคารออมสินในสังกัดเขตน่าน โดยไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน ขนาดตัวอย่างคำนวณได้จากสูตรคอแครน ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 385 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบสะดวกไม่เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน การทดสอบค่าที่วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบเชิงซ้อน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของธนาคารออมสินในสังกัดเขตน่าน ในภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อคุณภาพในการบริการของธนาคารออมสินในสังกัดเขตน่านในระดับมาก โดยด้านการบริการเป็นด้านที่ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาการรักษาข้อมูลที่เป็นความลับของลูกค้ามีความน่าเชื่อถือไว้ใจได้ การได้รับความช่วยเหลือและแก้ไขในกรณีเกิดปัญหา การบริการที่รวดเร็ว ด้านความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ในการให้บริการ ตามลำดับ (2) อายุ อาชีพ รายได้ ที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของธนาคารออมสินในสังกัดเขตน่านที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนค้านเพศ สถานภาพ ระดับการศึกษาระยะเวลาทำธุรกรรมที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของชนาคารออมสินในสังกัดเขตน่านไม่แตกต่างกัน.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectธนาคารออมสิน--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleความพึงพอใจต่อคุณภาพการใช้บริการของธนาคารออมสินในสังกัดเขตน่านth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction toward quality of service of the Government Savings Bank under Nan Zoneen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study were ( 1 ) to study satisfaction toward service quality of Government Savings Bank within Nan area; and ( 2 ) to compare satisfaction toward service quality of Government Savings Bank within Nan area classified by demographic characteristics. The population of this survey research was the service users of all types of the financial transactions at Government Savings Bank within Nan area. With unknown population, the sample of 385 customers was selected by Cochran’s Formula with convenient random sampling with non-probability sampling method. A constructed questionnaire was used an instrument to collect the data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, inferential statistics, t-Test, One-Way ANOVA, and multiple comparison. The result of the study indicated that (1) the level of satisfaction toward service quality of Government Savings Bank within Nan area was overall at a high level, while the respondents were satisfied with the service aspect at the highest level, followed by keeping the customers as a secret, trust, being helpful and help to solve the problems, taking action fast and having enough service tools in the available aspects respectively; and (2) the customers with different ages, careers, and incomes had different satisfaction toward service quality of Government Savings Bank within Nan area with a statistical significance at 0.05 level while the customers with difference genders, status, levels of education and durations of transaction had no different satisfaction toward service quality of Government Savings Bank within Nan areaen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161116.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons