Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12642
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ | th_TH |
dc.contributor.author | กันยารัตน์ ตันอารีย์, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-29T07:45:16Z | - |
dc.date.available | 2024-07-29T07:45:16Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12642 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพของกระบวนการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (2) เสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ เจ้าพนักงานตรวจสอบทรัพย์สินในส่วนกลาง สังกัดสำนักทะเบียนและพัฒนาระบบตรวจสอบ สำนักตรวจสอบทรัพย์สินภาคการเมือง สำนักตรวจสอบทรัพย์สินภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ และสำนักส่งเสริมการตรวจสอบทรัพย์สินภาคการเมืองส่วนท้องถิ่น จำนวน 83 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเละการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาค้นคว้าอิสระพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพของกระบวนการตรวจสอบบัญชีแสดงราขการทรัพย์สินและหนี้สินในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านมีประสิทธิภาพในระดับมากทุกด้าน คือการปฏิบัติงานตรวจสอบ ด้านการรายงานผลการตรวจสอบและด้านการรับบัญชี ตามลำดับ (2) แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ได้แก่ การเผยแพร่ความรู้ในเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินให้กับผู้มีหน้าที่ยื่นบัญชีให้มากยิ่งขึ้น การเพิ่มอัตรากำลังให้สอดคล้องกับปริมาณงาน การปรับปรุงและพัฒนาระบบสารสนเทศให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การสอบบัญชี | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ--การป้องกัน.--ไทย | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง--การป้องกัน.--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | การแสดงทรัพย์สิน | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ | th_TH |
dc.title.alternative | Efficiency improvement of assets and liabilities audit process of the Office of the National Anti-Corruption Commission | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aimed (1) study the level of the efficiency improvement of the assets and liabilities audit process of the Office of the National Anti-Corruption Commission, (2) give some guidelines for the efficiency improvement of the assets and liabilities audit process of the Office of the National Anti-Corruption Commission. The population in this study was 83 asset inspection group officials who are responsible for different departments including (1) Bureau of Assets Declaration Registration and Development of Inspection system, (2) Bureau of Political Sector Assets Inspection, (3) Bureau of Public Sector and State Enterprises Assets Inspection, and (4) Bureau of Local Government Assets Inspection. Questionnaires were used for data collection. Statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis were used for data analysis The results of this study were as follows: (1) The efficiency of assets and liabilities audit process was found to be at high level in general. In addition, it was found that the operation of the audit as well as the report of the audit and receiving of Asset and Liabilities Declaration were also at high level. (2) Guidelines for the efficiency improvement of the assets and liabilities audit process were suggested in this study. The results of the study suggested that there should be more of the dissemination of knowledge about rules and submissions of Asset and Liabilities Declaration. There should be an increase in the number of personnel in order to deal with the workload efficiently. Additionally, an information system development is required in order to support the operation of the audit properly. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_142867.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License