Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12645
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบth_TH
dc.contributor.authorก้องเดช มีเดช, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-07-29T09:29:34Z-
dc.date.available2024-07-29T09:29:34Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12645en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการตัดสินใจลาออกของพนักงานแผนกพัฒนาซอฟแวร์ของบริษัท เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการตัดสินใจลาออกของพนักงาน แผนกพัฒนาซอฟแวร์ของบริษัท และเพื่อเสนอแนะแนวทางการจัดการเพื่อธำรงรักษาพนักงาน แผนกพัฒนาซอฟแวร์ของบริษัท ประชากรในการศึกษา คือ พนักงานในแผนกพัฒนาซอฟแวร์ของบริษัทแห่งหนึ่ง สำนักงานสาขากรุงเทพมหานคร ประเทศไทย จำนวน 102 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 81คน ด้วยวิธีของทาโรยามาเน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม มีระยะเวลาการเก็บข้อมูล คือ ระหว่างวันที่ 20 พฤษภาคม – 6 มิถุนายน 2559 ทำการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การหา ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความแปรปรวน ผลการศึกษา พบว่า (1) ในภาพรวมพนักงานมีระดับความพึงพอใจในสถานการณ์การ ทำงานปัจจุบันอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ของพนักงานที่ต่างกันมีผลต่อแนวโน้ม ระดับ และความถี่ในการตัดสินใจลาออกไม่แตกต่างกัน ยกเว้น ด้านตำแหน่งงานของ พนักงานที่ต่างกันมีผลต่อระดับในการตัดสินใจลาออกแตกต่างกัน (3) ปัจจัยลักษณะงาน ทั้ง 5 ด้าน ของพนักงาน พบว่า มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการตัดสินใจลาออกทั้ง 3 ด้าน ยกเว้นปัจจัยลักษณะงานด้านรายได้กับสวัสดิการที่ไม่มีความสัมพันธ์กับแนวโน้มในการตัดสินใจลาออก (4) ข้อเสนอแนะจากการศึกษา ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ของบริษัทควรให้ความสำคัญกับความเห็นของพนักงาน ในด้านความสัมพันธ์ต่อองค์การ ความสัมพันธ์ต่อพนักงาน ลักษณะและปริมาณงาน ความก้าวหน้าและความมั่นคง เป็นหลัก ส่วนในด้านรายได้และสวัสดิการ ควรเน้นผลตอบแทน ทางอ้อมที่ไม่ใช่ตัวเงินมากขึ้น เพื่อลดอัตราการลาออกของพนักงานในอนาคตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพนักงานบริษัท--การลาออกth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลาออกของพนักงานแผนกพัฒนาซอฟแวร์ บริษัทแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting resignation of software development employees in a company at Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the factors affecting resignation of software development employees; (2) to study resignation behaviors of software development employees; and (3) to suggest the retention of software development employees. The population was 102 employees under software development department in a company based in Bangkok. The 81 samples were selected by using Taro Yamane method. The instrument was a questionnaire, collected from 20 May to 6 June 2016. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and variance. The study results revealed that (1) the software development employees currently were overall satisfied with the working situation at a moderate level; (2) different personal factor did not affect trend, level and frequency of resignation except employees with different job positions which would affect different resignation decision, with a statistical significance at 0.05 level; (3) 5 job characteristic factors were related to resignation behaviors in 3 aspects, except the aspects of income and welfare which were not related to trend of resignation; and (4) as for suggestions for human resource department in the company should mainly focus on the factors of organization relation, employee relation, job characteristic and work load, working progress and stability. On the income and welfare, the company should provide the compensation, which is not money, to decrease resignation ratio in the future.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150178.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons