Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่างth_TH
dc.contributor.authorกวิสรา ศิริการณ์, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-07-29T10:42:33Z-
dc.date.available2024-07-29T10:42:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12646-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการ จัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์การ และ (2) เปรียบเทียบระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ จำแนกตามปัจจัยส่วน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ พนักงาน ลูกจ้างประจำ ลูกจ้าง ชั่วคราว ที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตำบล คำตากล้า จังหวัดสกลนคร จำนวน 119 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางกำหนดขนาดของเครจซี่และมอร์แกน และใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย สำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม โดยหาความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้การทดสอบค่าที และวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว ในกรณีที่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จึงทำการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วย วิธีการของเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้เพื่อ พัฒนาองค์การ ด้านการเรียนรู้จากประสบการณ์ของตนเองในอดีต ด้านการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ด้านการถ่ายทอดความรู้อยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ด้านการเรียนรู้จากประสบการณ์และสิ่งที่ ผู้อื่นทำได้เป็นอย่างดี ด้านการทดลองแนวทางใหม่ ๆ ตามลำดับ ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับ มาก และ (2) ระดับความสำเร็จในการจัดการความรู้ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ระดับการศึกษาและระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการจัดการ ความรู้เพื่อพัฒนาองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบเป็นราย คู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ พบว่ากลุ่มการศึกษาระดับปริญญาโทมีความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์การมากกว่ากลุ่มการศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรี และกลุ่มการศึกษา ระดับปริญญาตรีตามลำดับ และกลุ่มที่มีประสบการณ์มากกว่า15 ปี มีความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์การแตกต่างจากกลุ่มที่มีประสบการณ์น้อยกว่า 5 ปี และ5-10 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleความสำเร็จในการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์การของเทศบาลตำบลคำตากล้า จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeSuccessful knowledge management for Organization Development at Khamtakla Subdistrict Municipality, Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the level of successful knowledge management for organization development; and (2) to compare the level of successful knowledge management classified by personal factors. The population of this survey research consisted of 119 officers, staffs, and casual workers who work at Khamtakla Subdistrict Municipality, Sakon Nakhon Province and the sample was 92 people calculated by Krejcie and Morgan's formulation. The research instrument was a constructed questionnaire, and the data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, one-way analysis of variance (ANOVA), and pair difference test by Scheffe’s method. The results of this study revealed that: (1) the opinions toward the successful knowledge management for organization development was overall at a high level. As for each individual aspect, ranking in order from high to low, they were learning from their own experiences and past history, systematic problem solving, transferring knowledge quickly and efficiently, learning from the experiences, best practices of others, and experimentation with new approaches, respectively; and (2) the level of successful knowledge management classified by personal factors revealed that the factors of educational level and work experience were significant factors affecting the success level of knowledge management for organization development with a statistical significance at the 0.05 level. When compared on multiple comparison by using Scheffe's method, it was found that the group of under bachelor’s degree and master degree holders had the opinion of success of knowledge management for organization development more than those with bachelor’sdegree, and the group of work experience up to 15 years old had more success level of knowledge management for organization development than those with work experience of less than 5 years old, and 5-10 yearsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147902.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons