Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12706
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | จิรวัฒน์ ดวงปัญญาเจตน์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-08-22T06:03:48Z | - |
dc.date.available | 2024-08-22T06:03:48Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12706 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ระดับการให้บริการของเทศบาลเมืองสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริการของเทศบาลเมืองสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนวทางการพัฒนาการบริการของเทศบาลเมืองสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือจำนวนผู้เข้าใช้บริการเทศบาลเมืองสุโขทัยจำนวน 200 คน โดยการสุ่มตัวอย่างเป็นการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับการให้การบริการของเทศบาลเมืองสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย พบว่าระดับการบริการทั้ง 5 ด้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก แต่ในรายข้อย่อยในด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ มีระดับความคิดเห็นของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับน้อย (2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริการของเทศบาลเมืองสุโขทัย อำเภอเมืองจังหวัดสุโขทัย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้รับบริการพบว่า เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษาและรายได้ต่อเดือน แตกต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน (3) แนวทางการพัฒนาที่สำคัญ คือควรพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจด้าน ICT อย่างแท้จริง โดยควรพัฒนาทักษะของบุคคลกรในการทำงานร่วมกันแบบออนไลน์และการแบ่งปันพื้นที่การทำงานออนไลน์ อีกทั้งควรพัฒนาคุณภาพของบุคคลากรในการให้บริการประชาชนให้มีประสิทธิภาพโดยควรพัฒนาจัดโครงการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรระดับปฏิบัติงาน และควรพัฒนาจัดทำระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัยเพื่อปรับปรุงข้อมูลของระบบ สารสนเทศฯ ของเทศบาลเมืองสุโขทัย ให้สอดคล้องกับของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | เทศบาลเมืองสุโขทัย--ไทย--สุโขทัย | th_TH |
dc.subject | บริการของเทศบาล | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การพัฒนาการให้บริการของเทศบาลเมืองสุโขทัย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย | th_TH |
dc.title.alternative | Service development of Sukhothai Municipality, Mueang District, Sukhothai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to (1) to analyze service levels of Sukhothai Municipality, Mueang District, Sukhothai Province (2) to compare public opinion on services of Sukhothai Municipality, Mueang District, Sukhothai Province, classified by personal factors (3) To propose a guideline for the service development of the Sukhothai Municipality, Mueang District, Sukhothai Province. This study is a survey research. The target population of this research were clients who used service of Sukhothai Municipality. Random sampling technique was used and the total population consist of 200 people. The research instruments for collecting data were questionnaire. The statistics applied for data analysis were mean, percentage, standard deviation, T-value test, and One-way analysis of variance. According to the results of the study (1) the service level of the Sukhothai Municipality in all 5 aspects were at a high level. However, only in one sub-aspect which is the concreteness of the service, the opinions of service users were at a low level. (2) When comparing personal factors of the target population which are gender, age, occupation, and educational level on services of Sukhothai Municipality, the results are not difference. (3) An important development approach are personnel should be developed to have real ICT knowledge and personnel should be developed for online sharing. Jobs and online work platform can improve the quality and performance of personnel in serving people to be more effective in various areas. Moreover, operators should develop a database system to be up to date in accordance with the Department of Local Administration in order to improve the information system of the Sukhothai Municipality. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168973.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License