Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12708
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ราณี อิสิชัยกุล | th_TH |
dc.contributor.author | นภัสชลักษณ์ เอมโคกสูง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-08-22T06:16:46Z | - |
dc.date.available | 2024-08-22T06:16:46Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12708 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เปรียบเทียบระดับพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (2) ปัจจัยองค์ประกอบแหล่งท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี และ (3) แรงจูงใจในการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เคยเดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี กำหนดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงแบบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ สถานภาพ อาชีพและรายได้ ที่แตกต่างกันมีระดับพฤติกรรมการท่องเที่ยวที่แตกต่างกันในจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัจจัยองค์ประกอบแหล่งท่องเที่ยว ด้านสิ่งดึงดูดใจ ด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านการบริการ ส่งผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สามารถพยากรณ์พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี ได้ร้อยละ 33 เมื่อพิจารณาตัวแปรอิสระที่มีอำนาจในการทำนายการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการท่องเที่ยวได้ดีที่สุด คือ การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว สิ่งอำนวยความสะดวก สิ่งดึงดูดใจ และการบริการ ตามลำดับ (3) แรงจูงใจในการท่องเที่ยวได้แก่ แรงจูงใจทางกายภาพ แรงจูงใจทางวัฒนธรรม แรงจูงใจระหว่างบุคคล และแรงจูงใจทางด้านสถานภาพและชื่อเสียง ส่งผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สามารถพยากรณ์พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี ได้ร้อยละ 42 เมื่อพิจารณาตัวแปรอิสระที่มีอำนาจในการทำนายการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการท่องเที่ยวได้ดีที่สุด คือ แรงจูงใจทางกายภาพ แรงจูงใจทางด้านสถานภาพและชื่อเสียง และแรงจูงใจทางวัฒนธรรม ตามลำดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยว--ไทย--ชลบุรี | th_TH |
dc.subject | นักท่องเที่ยว--พฤติกรรม | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว--ไทย | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting tourist behavior of Thai tourists in Chonburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study tourist behavior of Thai tourists in Chonburi Province, classified by personal factors; (2) to study attraction factors affecting tourist behavior of Thai tourists in Chonburi province; and (3) to study travel motivation affecting tourist behavior of Thai tourists in Chonburi province. This study was a survey research. The population was Thai tourists who have traveled to Chonburi Province. The determined sample size used in this study was 400 samples. A questionnaire was used as an instrument for data collection. Statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-Way ANOVA and Multiple Regression Analysis. The results showed that: (1) Thai tourists with different personal factors of age, status, occupation and income showed tourist behavior differently in Chonburi Province at statistically significant level of 0.05. (2) Attraction factors by attraction type, accessibility, amenities, and ancillary services affected tourist behavior of Thai tourists in Chonburi Province at statistically significant level of 0.05. This predicts tourist behavior of Thai tourists in Chonburi Province at 33%. When considering the independent variables that have the best power to predict changes in tourism behavior, they are accessibility, amenities, attraction type, and ancillary services respectively. (3) Travel motivation by physical motivation, cultural motivation, interpersonal motivation and status and reputation motivation affected tourist behavior of Thai tourists in Chonburi Province at statistically significant level of 0.05. This predicts tourist behavior of Thai tourists in Chonburi Province at 42%. When considering the independent variables that have the best power to predict changes in tourism behavior, they are physical motivation, status and reputation motivation, and cultural motivation respectively. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168978.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License