Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัลลิกา มัสอูดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปัณฉัตร หมอยาดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวริฐา ทองไทย, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-30T02:33:25Z-
dc.date.available2022-08-30T02:33:25Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1270-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติความเป็นมาของชุมชนคลองตะเคียน ตําบลคลอง ตะเคียน อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ( 2) วิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ของชุมชนคลอง ตะเคียนตําบลคลองตะเคียน อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ (3) แนวทางในการสร้างความเข็มแข็งของชุมชนคลองตะเคียนตําบลคลองตะเคียน อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากเอกสาร หนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างได้แก่ เจ้าหน้าที่รัฐ จํานวน 5 คน ผู้นําชุมชน ผู้นําศาสนา จํานวน 10 คนประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนคลองตะเคียนจํานวน 20 คน รวมทั้งสิ้น จํานวน 35 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ แล้วนํามาวิเคราะห์ ตีความ เรียบเรียงและนําเสนอในรูปแบบการวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า ( 1) ชุมชนคลองตะเคียน ตําบลคลองตะเคียน อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นชุมชนเก่าแก่ ที่สันนิษฐานว่ามีตั้งแต่สมัย อยุธยาในอดีตชุมชนนี้เป็นชุมชนชาวมุสลิมเชื้อสายมลายูที่มาทําการค้าสมัยอยุธยาใช้เป็นสถานที่พํานักพักพิง แต่ปัจจุบันเป็นชุมชนที่มีชาวไทยพุทธและไทยมุสลิมอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสันติ (2) วิถีชีวิตของประชาชนในชุมชนคลองตะเคียนประกอบไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ได้แก่ แขก จีน ญวน มอญ และลาวซึ่งในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์จะมีวิถีการดําเนินชีวิตที่แตกต่างกันออกไปในเรื่องของความเชื่อ วัฒนธรรม และประเพณี และ (3) แนวทางในการสร้างความเข็มแข็งของชุมชนคลองตะเคียน คือ การให้ความสําคัญกับปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก โดยปัจจัยภายในคือ การ ศึกษาการส่งเสริมวัฒนธรรมที่หลากหลาย และการกระจายข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึงส่วนปัจจัยภายนอก คือ การสร้าง ความร่วมมือของคนในชุมชนกับภาครัฐและได้มีส่วนทําให้ชุมชนคลองตะเคียนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขและสันติซึ่งเป็นผลนําไปสู่ความเข็มแข็งของชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.176-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectชุมชนคลองตะเคียน (พระนครศรีอยุธยา)th_TH
dc.titleความเข้มแข็งของชุมชนคลองตะเคียน ตำบลคลองตะเคียน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ช่วง พ.ศ. 2504-2555th_TH
dc.title.alternativehe strength of the Klongtakean Community at Klongkakean Sub-district of PhraNakhon Si Ayutthaya District in PhraNakhon Si Ayutthaya Province in the Period B.E. 2504-2555th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.176-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the history of KhlongTakhian Community, KhlongTakhian Sub-District, PhraNakhon Si Ayutthaya District, Ayutthaya Province;(2) the way of life of ethnic groups in the community; and (3) approaches to strengthening the community. This was a qualitative study based on documentary research, books, a review of related literature and data collected from 35 key informants, consisting of 5 government officials, 10 community leaders/religious leaders, and 20 residents of KhlongTakhian Community. The data collection tool was an interview form. The data were analyzed, interpreted, compiled and presented through descriptive analysis. The results showed that ( 1) KhlongTakhian Community, in KhlongTakhian Sub-District, PhraNakhon Si Ayutthaya District, Ayutthaya Province, is an old community that is presumed to date back to the Ayutthaya Kingdom Era (1350-1767). It was originally settled by Muslim traders from the Malaysian Peninsula. At present both Muslim and Buddhist Thais inhabit the community in peace. (2) Malay/Indian, Chinese, Yuan, Mon, and Lao ethnic groups live in the community and each group has a different way of life with different beliefs, culture and traditions. (3) Approaches to strengthening the community must take into consideration both internal and external factors. The internal factors are education, promotion of cultural diversity, and widespread dissemination of news and information. The external factor is building cooperation between people in the community and government agencies. These approaches will play a part in enabling people in the community to live together peacefully and happily, ultimately leading to greater community strengthen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.83 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons