Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสาth_TH
dc.contributor.authorเสาวณีย์ ไม่เศร้าth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-08-31T02:54:26Z-
dc.date.available2024-08-31T02:54:26Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12715en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้ของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเพื่อพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้ และ (2) เปรียบเทียบกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้ของนักเรียนหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสีกัน (วัฒนานันท์อุปถัมภ์) กรุงเทพมหานคร จานวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้ มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.85 และ (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเพื่อพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเพื่อพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้ นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้สูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยกรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้หลังการทดลองและระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectเกม--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวโดยใช้เกมเพื่อพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตด้านการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสีกัน (วัฒนานันท์อุปถัมภ์) กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package with games to develop growth mindset on learning of grade 10 students at Seekan (Wattananunuppathum) School in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare growth mindsets on learning of students before and after using a guidance activities package with games to develop growth mindset on learning; and (2) to compare the growth mindset on learning of the students at the end of the experiment with their counterpart growth mindset during the follow up period. The research sample consisted of 30 Grade 10 students of Seekan (Wattananunuppathum) School in Bangkok Metropolis during the 2021 academic year, obtained by simple random sampling. The research instruments were (1) a scale to assess growth mindset on learning, with reliability coefficient of .85; and (2) a guidance activities package with games to develop growth mindset on learning. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were that (1) after the experiment with the use of the guidance activities package with games to develop growth mindset on learning, the experimental group students’ mean score of growth mindset on learning was increased significantly at the .05 level of statistical significance; and (2) the experimental group students’ mean scores of growth mindset on learning at the end of the experiment and during the follow up period were not significantly differenten_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons