Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12725
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธัญญรัศน์ วศวรรณวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | กัลยาณี ตรีสุวรรณ, 2500- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-08-31T08:23:24Z | - |
dc.date.available | 2024-08-31T08:23:24Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12725 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับสุขภาพทางการเงิน (2) ระดับทักษะทางการเงิน (3) ความสัมพันธ์ของสุขภาพทางการเงินกับทักษะทางการเงินและ (4) อิทธิพลของทักษะทางการเงินที่มีต่อสุขภาพทางการเงินของบุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสํารวจ ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จํานวน 251 คน กาหนดขนาดของกลุ ํ ่มตัวอยางด้วยสูตรของทาโร ยามาเน่ได้จํานวน 124 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายเครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามที่ประยุกต์ จากธนาคารแห่งประเทศไทยและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกเชิงอันดับและการวิเคราะห์เชิงพหุตัวแปร ผลการศึกษา พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามมีสุขภาพทางการเงินในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 46รองลงมาคือ ระดับอ่อนแอ และระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 36.3 และ17.7 ตามลําดับ (2) ส่วนใหญ่มีทักษะทางการเงิน อยู่ในระดับสูง คิดเป็ นร้อยละ 81.5 และไม่พบผู้ที่มีทักษะทางการเงินตํ่า (3) สุขภาพทางการเงินมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับทักษะทางการเงินและ (4) ทักษะทางการเงินมีอิทธิพลต่อสุขภาพทางการเงิน โดยผู้ที่มีทักษะทางการเงินในระดับสูงมีโอกาสที่จะมีระดับสุขภาพทางการเงินสูงขึ้น 3.7 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ที่มีทักษะทางการเงินในระดับตํ่าถึงปานกลาง โดยองค์ประกอบของทักษะทางการเงิน ได้แก่ ความรู้พฤติกรรมและทัศนคติทางการเงิน สามารถร่วมกันเป็นตัวแปรพยากรณ์โอกาส ที่จะเกิดสุขภาพทางการเงินในระดับดีมากหรือระดับปานกลาง หรือระดับอ่อนแอ ได้ร้อยละ23.1 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะเทคนิคการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.subject | การเงินส่วนบุคคล--การจัดการ | th_TH |
dc.subject | สุขภาพ--การวางแผน | th_TH |
dc.title | ทักษะทางการเงินที่ส่งผลต่อสุขภาพทางการเงินของบุคลากร คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Financial literacy affecting personnel’s financial health of the faculty of Associated Medical Sciences, Chiang Mai University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The aims of this study were: (1) to measure the level of financial health; (2) to measure the level of financial literacy; (3) to study the correlation between financial literacy and financial health; and (4) to analyze the effect of financial literacy on financial health of personnel of the Faculty of Associated Medical Sciences, Chiang Mai University. The study was a survey research. The study population were 251 personnel of the Faculty of Associated Medical Sciences, Chiang Mai University. The sample size was 124, which was calculated by Yamane formula. A simple random method was used. A questionnaire was used as a study tool and modified from the questionnaire used by the Bank of Thailand and the Organization for Economic Co-operation and Development (OECD). Statistics used in this study included frequency, percentage, mean, standard deviation, Uni-variable Ordinal Logistic Regression and Multivariable Ordinal Logistic Regression. The study results showed that (1) a majority (46%) of respondents were in moderate financial health level, while 36.3 percent in a low level and 17.7 percent in a high level respectively. (2) 81.5 percent of the respondents were in a high level of financial literacy while there was no low financial literacy level. (3) Financial health had positive correlation with financial literacy positively. (4) Financial literacy of personnel had an effect on their financial health. Personnel with a high level of financial literacy will have a 3.7 times greater chance of good financial health than those with a low to moderate level. Financial literacy components include financial knowledge, financial behavior, and financial attitude will jointly predict 23.1 percent of chance of financial health levels for excellent, moderate and weak financial health of personnel. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_161243.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License