Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพth_TH
dc.contributor.authorอภิรมย์ เอี่ยมสอาดth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T03:06:28Z-
dc.date.available2024-09-13T03:06:28Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12734en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระบบการพ่นชิ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึดของเครื่องจักรโดยใช้ระบบอากาศ (2) ตรวจวัดระดับเสียงดังและความเข้มข้นของละอองน้ำมันของระบบพ่นชิ้นงาน ออกจากอุปกรณ์จับยึดโดยใช้ระบบอากาศ (3) ศึกษาระบบการพ่นชิ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึด ของเครื่องจักร โดยใช้ระบบน้ำมัน (4) ตรวจวัดระดับเสียงดังและความเข้มข้นของละอองน้ำมันของระบบพ่นชิ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึดโดยใช้ระบบน้ำมันและ (5) เปรียบเทียบระหว่างระดับเสียงดังและความเข้มข้นของละอองน้ำมันของระบบพ่นชิ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึดระหว่างการใช้ระบบอากาศและระบบน้ำมัน การวิจัยครั้งนี้ได้ทำการสำรวจออกแบบและทคลองสร้างระบบการพ่นชิ้นงานในเครื่องจักรของเพื่อลดปริมาณเสียงดังและความเข้มข้นของละอองน้ำมันของโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การทคลองมีการเก็บตัวอย่างตรวจวัดก่อนและหลังการดิดตั้งระบบพ่นชิ้นงาน เพื่อลดปริมาณเสียงดังและความเข้มข้นของละอองน้ำมันและนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติการทคสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ระบบการพ่นชิ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึดโดยใช้ระบบอากาศมีขั้นตอนการทำงานที่ทำให้เกิดการฟุ้งกระจายของละอองน้ำมันและมีเสียงดังในปริมาณมาก (2) ระบบการพ่นชิ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึดโดยใช้ระบบอากาศมีค่าความเข้มข้นของละอองน้ำมันและค่าความดังเสียงเฉลี่ยไม่เกินมาตรฐานที่กำหนดแต่อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสูงซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงานได้ (3) ระบบการพ่นขึ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึดโดยใช้ระบบน้ำมันมีขั้นตอนการทำงานที่ลคค่าความดังเสียงและลดปริมาณละอองน้ำมันลงโดยไม่ส่งผลกระทบต่อการผลิต (4)ระบบการพ่นชิ้นงานออกจากอุปกรณ์จับยึดโดยใช้ระบบน้ำมันสามารถลดความเข้มข้นของละอองน้ำมันและลคความดังเสียงให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงานและ (5) ค่าความดังเสียงเฉลี่ยหลังการปรับปรุงมีความแตกต่างกับก่อนปรับปรุง อย่างมีนัยสำคัญ (0.05) จากค่าเฉลี่ยพบว่าหลังการติดตั้งมีค่าความดังเสียงลดลงโดยมีประสิทธิภาพในการลดปริมาณเสียงร้อยละ 9.02 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 และค่าความเข้มข้นของละอองน้ำมันเฉลี่ยหลังปรับปรุงแตกต่างกับก่อนปรับปรุงอย่างมีนัยสำคัญ (0.05) ซึ่งพบว่าหลังปรับปรุงมีค่าความเข้มข้นของละอองน้ำมันลดลงในพื้นที่การผลิตร้อยละ 25.46 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectมลพิษทางเสียง--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectมลพิษทางอากาศ--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleการลดละอองน้ำมันและเสียงโดยการปรับปรุงระบบการพ่นชิ้นงานในเครื่องจักรของโรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.title.alternativeReduction of oil mist and noise level by improvement of oil blow system of CNC machine in an electronic component producion factoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this experimental research were : 1) to study machine blow fixture system by air system ; 2) to inspect noise level and oil mist concentration of machine blow fixture system by air system ; 3) to study machine blow fixture system by oil system ; 4) to inspect noise level and oil mist concentratation of machine blow fixture system by oil system ; 5) to compare the noise level and the oil mist concentration of the machine blow fixture system by the air system and the oil system The research was conducted by surveying, designing and experimenting the machine blow system, in order to reduce the noise level and oil mist concentration of an electronic component production factory, located in Ayutthaya Province. The experiment was done by sample collection and inspection before and after the blow fixture system installation, in order to reduce noise level and oil mist concentration. Data were analyzed by statistical T-Test. The research findings were that : 1) The air blow fixture system had working sequence that caused high oil mist dispersion and high noise level ; 2) The air blow fixture system did not have the average oil mist concentration and noise level over standard criteria, but they were at high level that might cause operator health impact ; 3) The working sequence of the oil blow fixture system reduced the noise level and oil mist concentration that did not cause production impact ; 4) The oil blow fixture system reduced the oil mist concentration and noise level to standard cruiteria that did not cause operator health impact ; and 5) the average nosie level after the improvement was different from before the improvement significantly ( p< 0.05), the average nosie level after the installation was reduced, the noise reduction efficiency was 9.02% at 0.05 significance level and the average oil mist concentration after the improvement was different from before the improvement significantly (p<0.05). It was found that after the improvement, the oil mist concentration in the production area was reduced to 25.46% at 0.05 significantce levelen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_135753.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons