Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวศินา จันทรศิริth_TH
dc.contributor.authorวุฒิชัย ศรีเจริญชัย, 2534-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T07:38:00Z-
dc.date.available2024-09-13T07:38:00Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12752en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อกลยุทธ์ทางการตลาดในการจัดการโครงการอาหารกลางวัน (2) ศึกษาการยอมรับรายการอาหารกลางวันของนักเรียนต่อการจัดการโครงการอาหารกลางวัน (3) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลยุทธ์ทางการตลาดกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปกครองนักเรียนต่อการจัดการโครงการอาหารกลางวัน และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ทางการตลาดกับความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนต่อการจัดการโครงการอาหารกลางวัน โรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่ง ในจังหวัดหนองคาย งานวิจัยนี้เป็นการสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1-3 และผู้ปกครอง กลุ่มละ 130 คน ด้วยการสุ่มแบบโควต้า 1:1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสังเกตการยอมรับรายการอาหารกลางวันของนักเรียนในโครงการอาหารกลางวัน และ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อกลยุทธ์ทางการตลาดในโครงการอาหารกลางวัน โดยพัฒนาขึ้นเอง มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.85 และมีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.706 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 130 คน ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001 - 20,000 บาท ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีบุตรหลานที่ศึกษาปัจจุบัน 1 คน และจบการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี (1) ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อกลยุทธ์ทางการตลาดในการจัดโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด (2) รายการอาหารกลางวันและอาหารว่างที่นักเรียนให้การยอมรับมากที่สุด ได้แก่ เมนูก๋วยจั๊บ แก้วมังกร ฟักทองบวด และนมพาสเจอไรส์ (3) การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลยุทธ์ทางการตลาดกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปกครองนักเรียนต่อการจัดการโครงการอาหารกลางวัน พบว่า เพศรายได้ และการศึกษา ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านอายุ พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในประเด็นด้านผลิตภัณฑ์ ด้านอาชีพ พบว่า มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในประเด็นด้านบุคลากร ด้านจำนวนบุตรหลานที่ศึกษาอยู่ปัจจุบัน พบว่า มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในประเด็นด้านกระบวนการ (3) ส่วนประสมทางการตลาดทั้ง 7 ด้านมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ปกครองในทิศทางบวก ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในระดับค่อนข้างต่ำ ด้านสถานที่ ด้านส่งเสริมการขาย ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการ และด้านลักษณะทางกายภาพมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงการอาหารกลางวันth_TH
dc.subjectโรงเรียนอนุบาล--อาหารth_TH
dc.titleกลยุทธ์ทางการตลาดในโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนอนุบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดหนองคายth_TH
dc.title.alternativeMarketing strategy of a school lunch program for acceptability of parents and students in a kindergarten in Nong Khai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to (1) study parents’ satisfaction towards the management of a school lunch program in a kindergarten in Nong Khai Province, (2) study students’ acceptability of the menu provided by the program, (3) compare the difference between marketing strategy and parents’ demographic information on the management of the program, (4) study the relationship between marketing strategy and the parents’satisfaction of the program. The research surveyed 2 groups of 130 individuals the kindergarten students from the first year to the third year and the parents whose children enrolled in the school using 1:1 quota sampling with the following tools: 1) observation form for students’ acceptability of the menu provided by the program and 2) satisfaction questionnaire for parents with regards to the marketing strategy of the school lunch program. Both tools were developed for this research with a content validity of 0.85, whereas the reliability of the questionnaire equaled 0.706. All data were analyzed for percentage, mean, standard deviation, t-test and Pearson’s simple correlation. The 130 parents the majority consisted of female, being within the 31–40 age range with their monthly income within the 10,001–20,000 baht range. Most of them had their own business, had only one child enrolled in the kindergarten and their education level was below bachelor degree. The results indicate that (1) parents showed the highest level of satisfaction towards the management of school lunch program in general with the highest mean value belonging to personnel. (2) Lunch and snack set menu with the highest acceptability was noodles in five-spice broth, dragon fruit, pumpkin in sweet coconut milk and pasteurized milk. (3) Comparison of the difference between marketing strategy and parents’ demographic information on the management of the program revealed that sex, income and education had no significant difference at 0.05 while age had a significant difference at 0.05 in terms of product, occupation had a significant difference at 0.05 in terms of people, and number of currently enrolled children had a significant difference at 0.05 in terms of process. (4) All seven elements of Marketing Mix were positively correlated with parents’ satisfaction; product and price were slightly correlated to satisfaction whereas place, promotion, people, process and physical evidence were moderately correlated to satisfactionen_US
dc.contributor.coadvisorสำอาง สืบสมานth_TH
dc.contributor.coadvisorอนุชา ภูริพันธุ์ภิญโญth_TH
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons