Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12756
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ กีระพงษ์th_TH
dc.contributor.authorน้ำทิพย์ เอี่ยมรักษาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T07:57:24Z-
dc.date.available2024-09-13T07:57:24Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12756-
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) อุบัติการณ์และลักษณะความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยาของหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (2) สาเหตุความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยาของหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลวชิรพยาบาลมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช และ (3) แนวทางในการแก้ไขปัญหาความคลาดเคลื่อน ก่อนการจ่ายยาของหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ประชากรที่ศึกษา คือ ใบสั่งยาของหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชทั้งหมด ระหว่างวันที่ 15 เมษายน-15 กรกฎาคม 2561 จำนวน 115,078 ใบ และบุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลและจัดยาในหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยใน 6 คน โดยเก็บข้อมูล ความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยาของหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยใน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลรายการความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยาของฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลวชิรพยาบาล และแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ร้อยละ อัตราความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยา และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยามีจำนวน 645 ใบสั่งยา คิดเป็น อุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยา 12.36 ครั้งต่อพันวันนอน ลักษณะความคลาดเคลื่อนที่พบ คือ การคัดลอกคำสั่งใช้ยาโดยการพิมพ์ผิดและการจัดยาผิด ขั้นตอนที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน ก่อนการจ่ายยามากที่สุด คือ การคัดลอกคำสั่งใช้ยาโดยการพิมพ์ (2) สาเหตุที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน ก่อนการจ่ายยาผู้ป่วยใน คือ บุคลากร ผลิตภัณฑ์ยา ระบบและสิ่งแวดล้อม จำนวนชนิดและปริมาณยา ต่อใบสั่งยา และ (3) แนวทางในการแก้ไขปัญหาคือบุคลากรควรมีความรอบคอบ/ความรอบรู้ในการ ปฏิบัติงานด้านผลิตภัณฑ์ยาให้มีการแยกความแตกต่างในการตั้งชื่อยาและบรรจุภัณฑ์ยา มีการจัดระบบและ สิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงานเพื่อการป้องกันความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยาของหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยในth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงพยาบาลวชิรพยาบาลth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเภสัชกรรมของโรงพยาบาล--การบริหารth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--ระบบการจ่ายยาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleความคลาดเคลื่อนก่อนการจ่ายยาของหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยในโรงพยาบาลวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชth_TH
dc.title.alternativePre-dispensing errors of Inpatient Pharmacy Unit at Vajira Hospital, Navamindradhiraj Universityth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-section study aimed (1) to determine the incidence of predispensing errors and their characteristics, (2) to identify the causes of pre-dispensing errors, and (3) to seek ways to solve problems related to pre-dispensing errors, all at the Inpatient Pharmacy Unit of Vajira Hospital, Navamindradhiraj University. The study population included 115,078 prescriptions and 6 personnel who did data entry and prepared medicines at the Inpatient Pharmacy Unit from April 15 – July 15, 2018. Data were collected on pre-dispensing errors at the unit using a pre-dispensing error data collection form of the hospital’s Pharmacy Department and an unstructured interview form, and then analyzed to determine percentage and rate of pre-dispensing errors, and to perform a content analysis. The results showed that: (1) pre-dispensing errors occurred in 645 prescriptions – an incidence rate of 12.36 errors per 1,000 patient days; most of the errors involved drug-name re-typing and medicine-preparing process, and the step that caused most errors was the medication re-typing process; (2) the causes of predispensing errors were related to personnel, drug properties, dispensing system and environment, and types and amounts of medicines per prescription; and (3) for solving such problems, the personnel should work carefully and know well about their work, different medicines should be labeled with distinct names and packaging, and a proper system and environment should be set up prevent predispensing errors in the Inpatient Pharmacy Uniten_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161368.pdf11.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons