Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorพัชราภรณ์ คำภาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T08:32:46Z-
dc.date.available2024-09-13T08:32:46Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12760-
dc.description.abstractการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังด้วยการฟอกไต ต้องดูแลให้ไตเสื่อมลงในอัตราที่ช้าที่สุด เพื่อไม่ให้การดำเนินของโรคไปสู่ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ภาวะแทรกซ้อนสำคัญประการหนึ่ง จากการฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียมคือการสูญเสียสารอาหารหลายชนิด ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะขาด สารอาหาร การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำคู่มือโภชนาการสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับ การฟอกไตในศูนย์ไตเทียมโรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ วิธีการจัดทำคู่มือ ได้จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำร่างคู่มือ โภชนาการสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกไตในศูนย์ไตเทียม มีการตรวจสอบความตรงของเนื้อหา ของร่างคู่มือโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ภายหลังการปรับแก้ไข ได้นำคู่มือไปทดลองใช้กับผู้ป่วยที่ได้รับ การฟอกไตในศูนย์ไตเทียมโรงพยาบาลค่ายจิรประวัติจำนวน30 คน แล้วให้ประเมินความพึงพอใจ ต่อการใช้คู่มือโภชนาการดังกล่าว ผลการศึกษา พบว่า คู่มือโภชนาการสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกไตในศูนย์ไตเทียม โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติที่จัดทำขึ้น แบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนบทนำ และส่วนเนื้อหา ส่วนบทนำ ประกอบด้วย ความเป็นมา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ในการจัดทำคู่มือ ส่วนเนื้อหามี 9 ตอน ได้แก่ 1) ความรู้เรื่องโรคไต 2) ประเภทของการบำบัดทดแทนไต 3) การฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียม 4) ขั้นตอน ปฏิบัติในการเข้ารับการฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียมในศูนย์ไตเทียมโรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ 5) ภาวะ โภชนาการของผู้ที่ได้รับการฟอกไต 6) คำแนะนำด้านโภชนาการสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกไต 7) การคำนวณสารอาหารเพื่อมาประยุกต์ใช้ในการรับประทาน 8) เมนูอาหารแนะนำและอาหารที่ควร หลีกเลี่ยง และ 9) วิธีทำและสูตรสำหรับการทำอาหารปั่นผสมหรืออาหารทางสาย สำหรับผลการ ประเมินความพึงพอใจในการทดลองใช้คู่มือ พบว่า ผู้ป่วยที่ใช้คู่มือ 30 ราย มีความพึงพอใจในระดับ มากที่สุดในทุกด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความน่าเชื่อถือของเนื้อหาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารโรงพยาบาล --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectไต--โรค--โภชนบำบัดth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารโรงพยาบาลth_TH
dc.titleคู่มือโภชนาการสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกไตในศูนย์ไตเทียม โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติth_TH
dc.title.alternativeNutrition handbook for hemodialysis patients at the Hemodialysis Center of Fort Chiraprawat Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe treatment of chronic kidney disease (CKD) patients involves the management to slow the disease progression to the end-stage. One of the complications from hemodialysis treatment is essential nutrients losses that may make patients have malnutrition. The objective of this study was to develop a nutrition handbook for the patients who were on dialysis treatment at the Hemodialysis Center of Fort Chiraprawat Hospital. The process for developing this handbook started from researching and reviewing relevant documents for preparing a draft nutrition handbook, followed by verifying the content validity by 3 specialists. Upon revision, the draft handbook was tried out with 30 hemodialysis patients at the hospital’s hemodialysis center; and their satisfaction with the handbook was assessed. As a result of this effort, the prepared nutrition handbook contained two parts: introduction and content. The introduction part was composed of background and objectives. Moreover, the content part contained nine chapters meluding 1) Knowledge about kidney disease; 2) Type of renal replacement therapy; 3) Hemodialysis, 4) Steps for receiving hemodialysis at Fort Chiraprawat Hospital, 5) Nutritional status of hemodialysis patients; 6) Dietary guideline for hemodialysis patients; 7) How to calculate nutritional needs and apply them to the meal plan; 8) Recommended foods to eat and avoid; and 9) Blenderized diet recipes. The satisfaction evaluation of 30 patients showed their strong satisfaction with all aspects, especially the reliability of the content in the handbooken_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158490.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons