Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12803
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผกามาศ ผจญแกล้ว | th_TH |
dc.contributor.author | ธนดล ศรีโฉมงาม | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T02:27:38Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T02:27:38Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12803 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการที่ก่อให้เกิดของเสียจาก กระบวนการป้องกันพื้นผิวรถยนต์ (2) ศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดในการลด ปัญหาของเสีย และ (3) ศึกษาการเปรียบเทียบต้นทุนระหว่างก่อนและหลังการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสะอาด การดำเนินการวิจัยมีการเก็บข้อมูลปริมาณการใช้น้ำมันป้องกันพื้นผิว วัสดุที่ใช้ ของ เสีย และต้นทุนการดำเนินการก่อนปรับปรุงกระบวนการเป็นเวลา 25วัน และหลังปรับปรุง กระบวนการ 25วัน และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบก่อนและหลังการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สะอาด โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า จุดกำเนิดของเสียที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากที่สุด คือ ขั้นตอนการทาน้ำมันลงบนชิ้นส่วนตัวถังรถยนต์ มีน้ำมันของเสียที่ทิ้งโดยเฉลี่ย 87.97 ลิตรต่อเดือน การปรับปรุงโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดตามหลัก 3 R คือ Reuse, Recycle, Reduce โดย Reuse เป็นการกรองน้ำมันของเสียกลับมาใช้ซ้ำใหม่ การทดลองคุณภาพน้ำมันหลังการกรอง สามารถนำไปใช้โดยไม่มีผลต่อคุณภาพชิ้นส่วนรถยนต์ และไม่ควรเก็บน้ำมันใช้แล้วเกิน 2 สัปดาห์ หลังปรับปรุงกระบวนการทำให้ลดปริมาณน้ำมันป้องกันพื้นผิวรถยนต์ใหม่โดยเฉลี่ย 76.61 ลิตร ต่อเดือนคิดเป็นร้อยละ 9.277 ของปริมาณน้ำมันที่ใช้ก่อนการปรับปรุง ส่วน Recycle เป็นการนำ เศษเหล็กที่ได้จากการกรองน้ำมันนำไปหลอมเพื่อนำไปเวียนใช้ใหม่ โดยเฉลี่ย 9.20 กิโลกรัมต่อ เดือน และ Reduce เป็นการลดการใช้ถุงมือผ้า และผ้าที่ใช้ทาน้ำมัน โดยเปลี่ยนมาใช้ถุงมือยาง และ ฟองน้ำแทน ทำให้ลดปริมาณของเสียถุงมือผ้าเฉลี่ย 18.08 กิโลกรัมต่อเดือน และลดของเสียเศษผ้า 4.97 กิโลกรัมต่อเดือน การวิเคราะห์ต้นทุนดำเนินการ พบว่า หลังการปรับปรุงกระบวนการสามารถ ลดต้นทุนได้ 6778.10 บาทต่อเดือน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | เทคโนโลยีสะอาด | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรมรถยนต์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีอุตสาหกรรม | th_TH |
dc.title | การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดในกระบวนการป้องกันพื้นผิวรถยนต์ | th_TH |
dc.title.alternative | The application of clean technologies in automobile surface protection process | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were: (1) to study the source of wastes from automobile surface protection process. (2) to study the application of clean technology to reduce wastes and (3 to study the comparative costs between before and after application of clean technology. The study area was the vehicle surface protection unit of the automobile factory. The data on the amount of surface protection oil and other materials used, wastes and operation costs were collected before improvement for 25 days and after improvement for 25 days. The data before and after application of clean technology were analyzed and compared by using percentage, mean and standard deviation. The results showed the waste source that most impact on environment was the oil coating process on automobile parts. The average waste oil to dispose were 87.97 liters per month. The process improvement was done by applying clean technology based on 3 Rs: Reuse, Recycle. And Reduce. In case of Reuse, the waste oil was filtered to reuse. The test of filtered oil quality showed that it did not affect the quality of the automobile parts and could not be kept more than 2 weeks. After process improvement, the new surface protection oil comsumption was reduced by an average of 76.61 liters/month, or 9.277 % . For Recycle, the iron particles were filtered out from the oil waste and sent to recycle process. The average weight of Iron received was 9.20 kg per month. Reduce was done by replacing fabric gloves and coating materials with rubber gloves and sponges. This improvement reduced the average amount of 18.08 kg. of fabric glove wastes and 4 .9 7 kg of fabric material wastes per month. The operation cost was analyzed after process improvement and found that it was reduced by 6778.10 baht per month. | en_US |
Appears in Collections: | Science Tech - Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_154891.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License