Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12804
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร | th_TH |
dc.contributor.author | พงศ์สุพัฒน์ ศรีคำแหง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T02:41:14Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T02:41:14Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12804 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) การนำเทคนิคการบริหารงาน ซ่อมบำรุงมาพัฒนาระบบบริหารงานซ่อมบำรุงของโรงงานกรณีศึกษา 2) พัฒนาแผนงานซ่อมบำรุงรักษา เครื่องจักรในสายงานบรรจุกระป๋องและงานบรรจุในถุงรีทอร์ทเพ้าตามวิธีการซ่อมบำรุงรักษาเชิงวางแผน การศึกษานี้ได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลการซ่อมบำรุงแบบไม่ได้วางแผนและการซ่อมบำรุง ตามแผนบำรุงรักษาเชิงป้องกัน โดยทำระบบการบันทึกข้อมูลการซ่อมบำรุงขึ้นใหม่โดยเริ่มทำการเก็บ ข้อมูลตั้งแต่เดือนธันวาคม ปี 2560 ถึงเดือนมีนาคม 2561 ผู้วิจัยได้ทำการปรับรูปแบบการบันทึกปัญหา ที่เกิดจากเครื่องจักร โดยช่างของโรงงานจะเป็นผู้บันทึกปัญหา สาเหตุของปัญหา และแนวทางการแก้ไข ลงในแบบฟอร์มของผู้วิจัย แล้วนำข้อมูลดังกล่าวบันทึกลงโปรแกรมที่ทำด้วย Microsoft Excel โดยผู้วิจัย ได้คำนวณ 1) ประสิทธิภาพเครื่องจักรสายการบรรจุกระป๋องได้เท่ากับ 93.09% และ สายการบรรจุ ถุงรีทอร์ทเพ้า 93.49% 2) อัตราการหยุดของเครื่องจักรโดยไม่ได้วางแผนของสายการบรรจุกระป๋อง เท่ากับ 6.91% และสายการบรรจุถุงรีทอร์ทเพ้า 6.51% 3)ข้อมูลอัตราระยะเวลาเฉลี่ยก่อนการเสียหายของ สายการบรรจุกระป๋องเท่ากับ 245.89 นาที และ สายการบรรจุถุงรีทอร์ทเพ้า 353.11 นาที 4) ข้อมูล ระยะเวลาเฉลี่ยตั้งแต่เสียหายจนใช้งานได้ของสายการบรรจุกระป๋องเท่ากับ 16.98 นาที และสายการบรรจุ ถุงรีทอร์ทเฟ้า 24.04 นาที หลังจากนั้นผู้วิจัยได้ทำการนำข้อมูลร้อยละการหยุดของเครื่องจักร โดยไม่ได้ วางแผนมาทำการแบ่งกลุ่มข้อมูลและ สรุปปัญหาที่สำคัญที่สุดเพื่อนำข้อมูลกลับไปปรับปรุงแผนงาน บำรุงรักษาตามแผน ผู้วิจัยพบว่ารากของปัญหาที่แท้จริงคือไม่มีการกำหนดแผนการบำรุงรักษาซึ่งส่งผล ให้เครื่องจักรเกิดการหยุด แบบไม่อยู่แผน เพื่อทำการแก้ปัญหา ดังนั้นผู้ทำการวิจัยจึงได้สร้างแผน บำรุงรักษาตามระยะเวลาขึ้นให้พนักงานในส่วนงานซ่อมบำรุงนำไปปฏิบัติและติดตามผลการปรับปรุง ตามแผนการบำรุงรักษา ผลการศึกษาพบว่าประสิทธิภาพรวมของเครื่องจกรของการบรรจุกระป๋อง เป็นร้อยละ 95.76 เพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 2.67 ส่วนของการบรรจุรีทอร์ทเพ้าเป็นร้อยละ 96.18 เพิ่มขึ้น จากเดิม ร้อยละ 2.69 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การบำรุงรักษาโรงงาน | th_TH |
dc.subject | บรรจุภัณฑ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีอุตสาหกรรม | th_TH |
dc.title | การปรับปรุงระบบบริหารงานซ่อมบำรุง : กรณีศึกษาโรงงานรับจ้างผลิตอาหารในบรรจุภัณฑ์ปิดสนิท | th_TH |
dc.title.alternative | The improvement of maintenance management system: a case study of original equipment manufacturer of food in sealed packing | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent study are: 1) to apply the technical maintenance management to develop the factory's maintenance management system, and 3) to develop a machine maintenance plan for the canning and the packing line of the retort pouch by following the maintenance planning and scheduling. In this research study, the researcher collected the data from the unplanned maintenance and the preventive maintenance plan. The researcher created a new maintenance record system and started collecting data from December 2017 to March 2018. The researcher has adjusted the recording format of the machinery failure problems. The factory technician was in charge of recording all the problems, the cause of problems, and the solution of problems on the researcher's form. All collected data were recorded on a program made from Microsoft Excel. The results of the researcher's calculation are as follow: 1) the overall efficiency of the canning line machine was equal to 93.09% and of the retort pouch was equal to 93.49%, 2) the unplanned of machine stop rate of the canning line was equal to 6.91% and of the retort pouch was equal to 6.51%, 3) the average time before the damage of the canning line was equal to 245.89 minutes and of the retort pouch was equal to 353.11 minutes, and 4) the average time from the damage to the activation of the canning line was equal to 16.98 minutes and of the retort pouch was equal to 24.04 minutes. After all, the researcher took the percentage of the unplanned machine stop rate to categorize the data and analyze the root of the problem in order to improve the maintenance plan. The researcher found that there was no scheduled maintenance which was the root of the problem, causing the unplanned machine breakdown. To solve the problem, therefore, the researcher created a periodic maintenance plan for the maintenance employees. The study found that the overall efficiency of the canning line machine was 95.76 percent which has increased 2.67 percent and the retort pouch was 96.18 percent which has increased 2.69 percent | en_US |
Appears in Collections: | Science Tech - Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159598.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License