Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12806
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาวดี ธีรธรรมากรth_TH
dc.contributor.authorเพียงขวัญ ไชยนันตาth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.date.accessioned2024-09-23T03:16:30Z-
dc.date.available2024-09-23T03:16:30Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12806-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาหาชนิดและปริมาณ ของสารเชื่อมประสานที่เหมาะสมสำหรับเชื่อมประสานเศษเนื้อสุกรให้เป็นสินค้าต้นแบบสเต็ก โดยใช้เอ็นไซม์ทรานส์กลูตามิเนส เป็นสารเชื่อมประสานทางการค้าที่แตกต่างกันสองชนิด (บริษัท A และบริษัท B) และศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพสินค้าต้นแบบกับสินค้าสันคอหมูสเต็กที่จำหน่าย ทั่วไป กรณีศึกษาโรงงานแปรรูปสุกรแห่งหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม่ วิธีดำเนินการศึกษามี 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การศึกษาปริมาณสัดส่วนเนื้อและไขมันที่ เหมาะสมต่อการทำเนื้อสเต็ก (2) การทดลองหาชนิดและความเข้มข้นของสารเชื่อมประสานที่ เหมาะสมต่อการนำเศษเนื้อสุกรมาผลิตเป็นเนื้อสเต็ก (3) การทดสอบคุณภาพของต้นแบบเนื้อสเต็ก โดยการทดสอบการยึดติดกันของเนื้อทั้งก่อนปรุงสุกและหลังจากปรุงสุก จากนั้นทำการวิเคราะห์ ความแข็งแรงต่อแรงดึง ความแข็ง ความเหนียว และทดสอบทางประสาทสัมผัสแบบสเกลเฮโดนิก 9 จุด เทียบกับสินค้าสันคอหมูสเต็กที่ปรุงสุกแล้ว โดยใช้ ANOVA เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ ทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า (1) สารเชื่อมประสานบริษัท B ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 1.5 เป็นปัจจัยที่เหมาะสมต่อการเชื่อมประสานเศษเนื้อสุกรเป็นเนื้อสเต็ก เนื่องจากสามารถประสานเศษเนื้อ ติดเป็นแผ่นเดียวกันได้ดี (2) การใช้ปริมาณสัดส่วนเนื้อต่อไขมันที่ร้อยละ 80 ต่อ 20 โดยน้ำหนัก เป็นสัดส่วนที่เหมาะสมต่อการทำสเต็ก (3) ต้นแบบเนื้อสเต็กจากเศษเนื้อให้ค่าความแข็งแรงต่อแรง ดึง ความแข็ง ความเหนียว และผลการทดสอบทางประสาทสัมผัสไม่มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญที่ 0.05 เมื่อเทียบกับสินค้าสันคอหมูสเต็กth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเนื้อสุกรth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีการผลิตอาหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีอุตสาหกรรมth_TH
dc.titleการพัฒนาเนื้อสเต็กจากเศษเนื้อสุกรด้วยเทคนิคการประสานth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of steak from pork scrap by binding techniqueen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis experimental research aimed to search for the type and appropriate amount of binders for binding pork scrap to be pork steak using two different transglutaminase enzymes as the binding substances (A company and B company) and to compare quality between samples with a collar steak product. The case study was a pork processing plant in Chiangmai province. The research process was done in three steps: (1) the study of an appropriate amount of pork scrap and fat for steak formation, (2) the experiment to determine the type and the appropriate concentration of binder for forming pork steak from pork scrap, and (3) the binding property testing of steak from pork scrap both before and after cooking. Subsequently, the tensile strength, hardness, toughness, and sensory test by a 9-point hedonic scale were analyzed to compare steaks form pork scrap with a cooked collar steak product. The employed statistical analysis was ANOVA. The findings revealed that: (1) the appropriate binder from B company at 1.5 percent was the most suitable concentration to bind scrap together in the same sheet like pork steak. (2) the appropriate proportion of pork meat and fat was at 80 to 20 percent by weight respectively. (3) the prototype of steak from pork scrap gave the strength, tensile strength, hardness, toughness, and sensory test results with no statistical difference at 0.05 level when compared to collar steak producten_US
Appears in Collections:Science Tech - Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159668.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons